เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ราชวงศ์เหงียน

ดัชนี ราชวงศ์เหงียน

ราชวงศ์เหงียน (Nhà Nguyễn, หญ่า-งฺเหวียน; จื๋อโนม: 阮朝, Nguyễn triều, งฺเหวียนเจี่ยว) เป็นราชวงศ์สุดท้ายของเวียดนามที่ปกครองเวียดนามมา 143 ปี เริ่มจากในปี ค.ศ.

สารบัญ

  1. 125 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2317พ.ศ. 2321พ.ศ. 2324พ.ศ. 2328พ.ศ. 2330พ.ศ. 2331พ.ศ. 2332พ.ศ. 2343พ.ศ. 2344พ.ศ. 2345พ.ศ. 2375พ.ศ. 2376พ.ศ. 2377พ.ศ. 2384พ.ศ. 2389พ.ศ. 2390พ.ศ. 2400พ.ศ. 2401พ.ศ. 2402พ.ศ. 2403พ.ศ. 2404พ.ศ. 2405พ.ศ. 2406พ.ศ. 2407พ.ศ. 2410พ.ศ. 2416พ.ศ. 2425พ.ศ. 2427พ.ศ. 2428พ.ศ. 2429พ.ศ. 2430พ.ศ. 2431พ.ศ. 2432พ.ศ. 2450พ.ศ. 2459พ.ศ. 2462พ.ศ. 2468พ.ศ. 2482พ.ศ. 2483พ.ศ. 2484พ.ศ. 2488พ.ศ. 2491พ.ศ. 2497พ.ศ. 2540พ.ศ. 2550พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชวังต้องห้ามพนมเปญกวีเญิน... ขยายดัชนี (75 มากกว่า) »

  2. รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน
  3. รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2345
  4. ราชวงศ์เวียดนาม

พ.ศ. 2317

ทธศักราช 2317 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2317

พ.ศ. 2321

ทธศักราช 2321 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2321

พ.ศ. 2324

ทธศักราช 2324 ตรงกับคริสต์ศักราช 1781 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2324

พ.ศ. 2328

ทธศักราช 2328 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2328

พ.ศ. 2330

ทธศักราช 2330 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2330

พ.ศ. 2331

ทธศักราช 2331 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2331

พ.ศ. 2332

ทธศักราช 2332 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2332

พ.ศ. 2343

ทธศักราช 2343 ตรงกับคริสต์ศักราช 1800 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2343

พ.ศ. 2344

ทธศักราช 2344 ตรงกับคริสต์ศักราช 1801 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2344

พ.ศ. 2345

ทธศักราช 2345 ตรงกับคริสต์ศักราช 1802 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2345

พ.ศ. 2375

ทธศักราช 2375 ตรงกับคริสต์ศักราช 1832 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2375

พ.ศ. 2376

ทธศักราช 2376 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2376

พ.ศ. 2377

ทธศักราช 2377 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1834.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2377

พ.ศ. 2384

ทธศักราช 2384 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2384

พ.ศ. 2389

ทธศักราช 2389 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1846 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2389

พ.ศ. 2390

ทธศักราช 2390 ใกล้เคียงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2390

พ.ศ. 2400

ทธศักราช 2400 ตรงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2400

พ.ศ. 2401

ทธศักราช 2401 ตรงกับคริสต์ศักราช 1858 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินจูเลียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2401

พ.ศ. 2402

ทธศักราช 2402 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1859.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2402

พ.ศ. 2403

ทธศักราช 2403 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1860.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2403

พ.ศ. 2404

ทธศักราช 2404 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1861.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2404

พ.ศ. 2405

ทธศักราช 2405 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1862.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2405

พ.ศ. 2406

ทธศักราช 2406 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1863.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2406

พ.ศ. 2407

ทธศักราช 2407 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1864.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2407

พ.ศ. 2410

ทธศักราช 2410 ตรงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2410

พ.ศ. 2416

ทธศักราช 2416 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1873.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2416

พ.ศ. 2425

ทธศักราช 2425 ตรงกั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2425

พ.ศ. 2427

ทธศักราช 2427 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1884 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2427

พ.ศ. 2428

ทธศักราช 2428 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1885 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2428

พ.ศ. 2429

ทธศักราช 2429 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1886 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันศุกร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2429

พ.ศ. 2430

ทธศักราช 2430 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1887 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2430

พ.ศ. 2431

ทธศักราช 2431 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1888 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2431

พ.ศ. 2432

ทธศักราช 2432 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1889 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2432

พ.ศ. 2450

ทธศักราช 2450 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1907 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคาร ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2450

พ.ศ. 2459

ทธศักราช 2459 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1916 เป็นปีอธิกสุรทินแรกของไทย ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2459

พ.ศ. 2462

ทธศักราช 2462 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1919 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2462

พ.ศ. 2468

ทธศักราช 2468 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1925 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2468

พ.ศ. 2482

ทธศักราช 2561 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2482

พ.ศ. 2483

ทธศักราช 2483 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1940 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2483

พ.ศ. 2484

ทธศักราช 2484 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1941 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2484

พ.ศ. 2488

ทธศักราช 2488 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1945 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2488

พ.ศ. 2491

ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2491

พ.ศ. 2497

ทธศักราช 2497 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1954.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2497

พ.ศ. 2540

ทธศักราช 2540 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1997 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2540

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพ.ศ. 2550

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

ระบาทสมเด็จพระปรโมรุราชามหาจักรีบรมนารถ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พระราชสมภพ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 — สวรรคต 7 กันยายน พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ระบาทสมเด็จพระปรมาธิวรเสรฐ มหาเจษฎาบดินทร พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (31 มีนาคม พ.ศ. 2330 - 2 เมษายน พ.ศ. 2394) เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์จักรี พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย และพระองค์แรกที่ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาเรียม (ภายหลังได้รับสถาปนา เป็นสมเด็จพระศรีสุลาไลย) เสด็จพระราชสมภพเมื่อ วันจันทร์ แรม 10 ค่ำ เดือน 4 ปีมะแม เวลาค่ำ 10.30 น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระราชวังต้องห้าม

อู่เหมิน ไท่เหอเหมิน ตงหวาเหมิน แม่น้ำทอง 280px 190px พระราชวังต้องห้าม (จีน: 紫禁城; พินอิน: Zǐjìn Chéng จื่อจิ้นเฉิง; อังกฤษ: Forbidden City) หรือพระราชวังกู้กง จากชื่อภาษาจีน แปลตามตัวอักษรได้ว่า "เมืองต้องห้ามสีม่วง" พระราชวังต้องห้ามตั้งอยู่ใจกลางของกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศจีน เป็นพระราชวังหลวงมาตั้งแต่สมัยกลางราชวงศ์หมิงจนถึงราชวงศ์ชิง พระราชวังต้องห้ามยังรู้จักกันในนาม พิพิธภัณฑ์พระราชวัง (ภาษาจีน: 故宫博物院; พินอิน: Gùgōng Bówùyùan) ครอบคลุมพื้นที่ 720,000 ตารางเมตร อาคาร 800 หลัง มีห้องทั้งหมด 9,999 ห้อง และมีพระที่นั่ง 75 องค์ หอพระสมุด ห้องหับต่างๆอีกมาก รวมทั้งยังมีสวน ลานกว้าง ทางเดินเชื่อมกันโดยตลอด มีคูและกำแพงที่สูงถึง 11 เมตร ล้อมรอบ ใช้ระยะก่อสร้างประมาณ 14 ปี ตั้งแต่ พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพระราชวังต้องห้าม

พนมเปญ

นมเปญ หรือ ภนุมปึญ (ភ្នំពេញ พนมเพ็ญ ออกเสียง:; Phnom Penh) อีกชื่อหนึ่งคือ ราชธานีพนมเปญ เป็นเมืองหลวงของประเทศกัมพูชา และยังเป็นเมืองหลวงของนครหลวงพนมเปญด้วย ครั้งหนึ่งเคยได้ชื่อว่า ไข่มุกแห่งเอเชีย (เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1920 พร้อมกับเมืองเสียมราฐ) นับเป็นเมืองที่เป็นเป้าการท่องเที่ยวทั้งจากผู้คนในประเทศและจากต่างประเทศ พนมเปญยังมีชื่อเสียงในฐานะที่มีสถาปัตยกรรมแบบเขมรดั้งเดิมและแบบได้รับอิทธิพลฝรั่งเศส กรุงพนมเปญเป็นเมืองที่ล้อมรอบด้วยจังหวัดกันดาล และเป็นเมืองศูนย์กลางการค้า การเมือง และวัฒนธรรมของกัมพูชา มีประชากรถึง 2 ล้านคน จากประชากรทั้งประเทศ 15.2 ล้านคน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและพนมเปญ

กวีเญิน

กวีเญิน (Quy Nhơn) เป็นเมืองชายฝั่งทะเลและเมืองหลักของจังหวัดบิ่ญดิ่ญทางตอนกลางของประเทศเวียดนาม มีเนื้อที่ 286 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยแขวง (phường) 16 แขวง และตำบล (xã) 5 ตำบล มีจำนวนประชากร 280,900 คน ณ ปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและกวีเญิน

กษัตรีองค์มี

กษัตรีองค์มี หรือ พระองค์เจ้าหญิงมี หรือ นักองค์เม็ญศานติ ภักดีคำ ผ. ดร.

ดู ราชวงศ์เหงียนและกษัตรีองค์มี

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

ฝ่ายอักษะ

ฝ่ายอักษะ (Axis Powers; Achsenmächte; Potenze dell'Asse; Suujikukoku.) หรือชื่อ อักษะ โรม-เบอร์ลิน-โตเกียว (Rome-Berlin-Tokyo Axis) เป็นกลุ่มประเทศมหาอำนาจทางการทหารซึ่งสู้รบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบด้วยสามประเทศหลัก คือ นาซีเยอรมนี อิตาลีและจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งทั้งสามร่วมลงนามกติกาสัญญาไตรภาคี เมื่อเดือนกันยายน..

ดู ราชวงศ์เหงียนและฝ่ายอักษะ

ภาษาฝรั่งเศส

ษาฝรั่งเศส (Français ฟฺร็อง์แซ) เป็นหนึ่งในภาษากลุ่มโรมานซ์ที่สำคัญที่สุด เป็นรองเพียงภาษาสเปนและโปรตุเกส ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาที่มีคนนิยมเป็นอันดับที่ 11 ของโลก โดยเมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและภาษาฝรั่งเศส

ภาษาเวียดนาม

ษาเวียดนาม (tiếng Việt เตี๊ยงเหฺวียด, tiếng Việt Nam, Việt ngữ) เป็นภาษาที่มีวรรณยุกต์และเป็นภาษาทางการของประเทศเวียดนาม เป็นภาษาแม่ของประชากรเวียดนามถึงร้อยละ 87 รวมถึงผู้อพยพจากเวียดนามประมาณ 2 ล้านคน และรวมถึงชาวเวียดนาม-อเมริกันเป็นจำนวนพอสมควรด้วย ถึงแม้ว่าจะมีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนและเดิมใช้อักษรจีนเขียน แต่นักภาษาศาสตร์ยังคงจัดภาษาเวียดนามให้เป็นภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติกซึ่งในกลุ่มนี้ภาษาเวียดนามมีผู้พูดมากที่สุด (10 เท่าของภาษาที่มีจำนวนคนพูดเป็นอันดับรองลงมา คือ ภาษาเขมร) ในด้านระบบการเขียนของภาษาเวียดนามนั้น แต่เดิมใช้ตัวเขียนจีน เรียกว่า "จื๋อญอ" ต่อมาชาวเวียดนามได้พัฒนาตัวเขียนจีนเพื่อใช้เขียนภาษาเวียดนาม เรียกว่า "จื๋อโนม" แต่ในปัจจุบันเวียดนามใช้ตัวอักษรโรมันที่พัฒนาขึ้นโดยมิชชันนารีชาวฝรั่งเศส โดยเครื่องหมายเสริมสัทอักษรใช้เป็นวรรณยุกต.

ดู ราชวงศ์เหงียนและภาษาเวียดนาม

มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง

มกุฎราชกุมารเหงียน ฟุก บ๋าว ล็อง (Nguyễn Phúc Bảo Long; 阮福保隆) ประสูติ ณ พระราชวังเกี๊ยนจุง (Kiến Trung) ในเมืองหลวงเก่าเว้ (Hue) วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง

รัฐหุ่นเชิด

รัฐหุ่นเชิด (Puppet state) หรือ รัฐบาลหุ่นเชิด (Puppet government หรือ Marionette government) ใช้อธิบายถึงสภาพของรัฐที่มีเอกราชแต่เพียงในนาม แต่ถูกควบคุมโดยอำนาจต่างชาติหรือกองทัพอย่างชัดเจน คำว่า รัฐหุ่นเชิด หมายความถึง รัฐบาลที่ถูกควบคุมโดยอีกรัฐบาลหนึ่ง เหมือนกับการเชิดหุ่นกระบอก และยังใช้ในความหมายที่รัฐขาดความเป็นเอกราช หรือมีการปกป้องเอกราชในสิ่งที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติหรือกองทั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและรัฐหุ่นเชิด

รัฐในอารักขาอันนัม

อันนัมในอารักขาของฝรั่งเศส (Annam;An Nam) เป็นดินแดนในอารักขาของฝรั่งเศสอยู่ทางตอนกลางของเวียดนาม โดยฝรั่งเศสเข้ามาปกครองใน..

ดู ราชวงศ์เหงียนและรัฐในอารักขาอันนัม

รัฐเวียดนาม

รัฐเวียดนาม (Quốc gia Việt Nam) เป็นรัฐที่อ้างอำนาจเหนือประเทศเวียดนามทั้งหมดในช่วงระหว่างสงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง และแทนที่รัฐบาลกลางชั่วคราวแห่งเวียดนาม (ปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและรัฐเวียดนาม

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ดู ราชวงศ์เหงียนและราชวงศ์ชิง

ลัทธิขงจื๊อ

หอต้าเฉิง (Dàchéng) อาคารหลักของวัดขงจื๊อในชูฟู่ ลัทธิขงจื๊อ หรือศาสนาขงจื๊อ (Confucianism) เป็นระบบด้านจริยธรรมและปรัชญาของจีน ซึ่งพัฒนาจากการสอนของขงจื๊อ (551 - 479 ปีก่อน ค.ศ.) นักปรัชญาชาวจีน ลัทธิขงจื๊อถือกำเนิดขึ้นเป็น "งานสอนด้านจริยธรรม-สังคมการเมือง" ในยุคชุนชิว แต่ภายหลังพัฒนาส่วนที่เป็นอภิปรัชญาและจักรวาลวิทยาในสมัยราชวงศ์ฮั่น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและลัทธิขงจื๊อ

ศาสนาพุทธ

ระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาพุทธ (buddhasāsana พุทฺธสาสนา, buddhaśāsana พุทธศาสนา) เป็นศาสนาที่มีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา มีพระธรรมที่พระองค์ตรัสรู้ชอบด้วยพระองค์เอง และตรัสสอนไว้เป็นหลักคำสอนสำคัญ มีพระสงฆ์ (ภิกษุ ภิกษุณี) สาวกผู้ตัดสินใจออกบวชเพื่อศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอน ธรรม-วินัย ของพระบรมศาสดา เพื่อบรรลุสู่จุดหมายคือพระนิพพาน และสร้างสังฆะ เป็นชุมชนเพื่อสืบทอดคำสอนของพระบรมศาสดา รวมเรียกว่า พระรัตนตรัย นอกจากนี้ในพระพุทธศาสนา ยังประกอบคำสอนสำหรับการดำรงชีวิตที่ดีงาม สำหรับผู้ที่ยังไม่ออกบวช (คฤหัสถ์ - อุบาสก และอุบาสิกา) ซึ่งหากรวมประเภทบุคคลที่ที่นับถือและศึกษาปฏิบัติตนตามคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วจะจำแนกได้เป็น 4 ประเภท คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา หรือที่เรียกว่า พุทธบริษัท 4 ศาสนาพุทธเป็นศาสนาอเทวนิยม ปฏิเสธการมีอยู่ของพระเป็นเจ้าหรือพระผู้สร้าง และเชื่อในศักยภาพของมนุษย์ ว่าทุกคนสามารถพัฒนาจิตใจ ไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ได้ ด้วยความเพียรของตน กล่าวคือ ศาสนาพุทธ สอนให้มนุษย์บันดาลชีวิตของตนเอง ด้วยผลแห่งการกระทำของตน ตาม กฎแห่งกรรม มิได้มาจากการอ้อนวอนขอจากพระเป็นเจ้าและสิ่งศักดิ์สิทธิ์นอกกายพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต คาถาธรรมบท อัตตวรรคที่ ๑.

ดู ราชวงศ์เหงียนและศาสนาพุทธ

ศาสนาคริสต์

นาคริสต์ (Christianity) ราชบัณฑิตยสถานเรียกว่า คริสต์ศาสนาราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 156 เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม ที่มีพื้นฐานมาจากชีวิตและการสอนของพระเยซูตามที่ปรากฏในพระวรสารในสารบบ (canonical gospel) และงานเขียนพันธสัญญาใหม่อื่น ๆ ผู้นับถือศาสนาคริสต์เรียกว่าคริสต์ศาสนิกชนหรือคริสตชน คริสตชนเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรพระเป็นเจ้า และเป็นพระเจ้าผู้มาบังเกิดเป็นมนุษย์และเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้ คริสตชนจึงมักเรียกพระเยซูว่า "พระคริสต์" หรือ "พระเมสสิยาห์" Briggs, Charles A.

ดู ราชวงศ์เหงียนและศาสนาคริสต์

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

มบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolute Monarchy) คือ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธิ์ขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์ก็คือกฎหมาย กล่าวคือ ที่มาของกฎหมายทั้งปวงอยู่ที่กษัตริย์ คำสั่ง ความต้องการต่าง ๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายอมร รักษาสัตย์, กษัตริย์มีอำนาจในการปกครองแผ่นดินและพลเมืองโดยอิสระ โดยไม่มีกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใด ๆ จะห้ามปรามได้ แม้องค์กรทางศาสนาอาจทัดทานกษัตริย์จากการกระทำบางอย่างและองค์รัฏฐาธิปัตย์ (กษัตริย์) นั้นจะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียม แต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั้น ไม่มีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยู่เหนือกว่าคำชี้ขาดของรัฏฐาธิปัตย์ ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มอบความไว้วางใจทั้งหมดให้กับพระเจ้าแผ่นดินที่ดีพร้อมทางสายเลือดและได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาอย่างดีตั้งแต่เกิด ในทางทฤษฎี กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะมีอำนาจทั้งหมดเหนือประชาชนและแผ่นดิน รวมทั้งเหนืออภิชนและบางครั้งก็เหนือคณะสงฆ์ด้วย ส่วนในทางปฏิบัติ กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มักจะถูกจำกัดอำนาจ โดยทั่วไปโดยกลุ่มที่กล่าวมาหรือกลุ่มอื่น กษัตริย์บางพระองค์ (เช่นจักรวรรดิเยอรมนี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและสมบูรณาญาสิทธิราชย์

สมเด็จพระจักรพรรดิสุก ดึ๊ก

มเด็จพระจักรพรรดิสุก ดึ๊ก (Dục Đức, 育德) พระนามเดิม เจ้าชายเหงียน ฟุก อึง อ๊าย (Nguyễn Phúc Ưng Ái, 阮福膺𩡤; ค.ศ. 1852 – 6 ตุลาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและสมเด็จพระจักรพรรดิสุก ดึ๊ก

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

มเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นบิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เจ้าพระยาทิพากรวงศ์มหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค) เจ้าพระยาภาณุวงศ์มหาโกษาธิบดี (ท้วม บุนนาค) เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) และเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร บุนนาค).

ดู ราชวงศ์เหงียนและสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)

สหรัฐ

หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).

ดู ราชวงศ์เหงียนและสหรัฐ

สงครามโลกครั้งที่สอง

งครามโลกครั้งที่สอง (World War II หรือ Second World Warคำว่าสงครามโลกครั้งที่สองในภาษาอังกฤษนั้น ในเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักรและชาติตะวันตกใช้คำว่า "Second World War" ส่วนในสหรัฐใช้คำว่า "World War II" (ย่อเป็น "WWII" หรือ "WW2") ซึ่งเอกสารประวัติศาสตร์อย่างเป็นทางการในประเทศส่วนใหญ่มักจะใช้ภาษาอังกฤษว่า "Second World War" (เช่น Zweiter Weltkrieg ในภาษาเยอรมัน; Segunda Guerra mundial ในภาษาสเปน; Seconde Guerre mondiale ในภาษาฝรั่งเศส) แต่ทั้งสองคำนี้โดยทั่วไปแล้วสามารถใช้แทนกันได้; แม้ในประวัติศาสตร์การทหารอย่างเป็นทางการ คำว่า "Second World War" ถูกสร้างขึ้นโดย แฟรงก์ บี.

ดู ราชวงศ์เหงียนและสงครามโลกครั้งที่สอง

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์ เป็นราชอาณาจักรที่สี่ในยุคประวัติศาสตร์ของไทย เริ่มตั้งแต่การย้ายเมืองหลวงจากฝั่งกรุงธนบุรี มายังกรุงเทพมหานคร ซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เมื่อวันที่ 6 เมษายน..

ดู ราชวงศ์เหงียนและอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)

อาณาจักรจามปา

นสถานศิลปะจามปา อาณาจักรจามปา เป็นอาณาจักรโบราณตั้งเมื่อพุทธศตวรรษที่ 7 อยู่ทางใต้ของจีน อยู่ทางตะวันออกของฟูนัน ปัจจุบันคือบริเวณเมืองเว้, ตามกี่, ฟานซาง-ท้าปจ่าม และญาจาง เนื่องจากสมัยก่อนพื้นที่นี้เป็นเขตทุรกันดาร จีนจึงไม่สามารถครอบครองพื้นที่นี้ได้ ชนชาติจามสืบเชื้อสายจากชาว มาลาโยโพลินีเชียน พวกจามเป็นชาวทะเลมีความสามารถทางการเดินเรือ ต่อมาราว..

ดู ราชวงศ์เหงียนและอาณาจักรจามปา

อานัมสยามยุทธ

อานัมสยามยุทธ คือสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างไทยกับเวียดนามเพื่อแย่งชิงกัมพูชาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและอานัมสยามยุทธ

อินโดจีนของฝรั่งเศส

อินโดจีนของฝรั่งเศส (Indochine française, French Indochina) ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สหภาพอินโดจีน (Union Indochinoise) เป็นอาณานิคมของจักรวรรดิฝรั่งเศสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและอินโดจีนของฝรั่งเศส

ฮานอย

นอย (Hanoi; Hà Nội ห่าโหน่ย) เป็นเมืองหลวงของประเทศเวียดนาม มีประชากร 6,472,200 คน (พ.ศ. 2552) ในอดีตเคยเป็นเมืองหลวงของเวียดนามเหนือระหว่าง พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและฮานอย

ฮ่องกง

องกง (Hong Kong; 香港) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (Hong Kong Special Administrative Region of the People's Republic of China) เป็นเขตปกครองตนเองริมฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ในทางภูมิศาสตร์มีสามเหลี่ยมปากแม่น้ำจูเจียงและทะเลจีนใต้โอบรอบ ฮ่องกงเป็นที่รู้จักในสกายไลน์ (skyline) ขยายและท่าเรือธรรมชาติลึก มีเนื้อที่ 1,104 กม.

ดู ราชวงศ์เหงียนและฮ่องกง

จักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

ักรพรรดิบ๋าว ดั่ย (จื๋อโกว๊กหงือ: Bảo Đại, จื๋อโนม: 保大, แปลว่า ผู้เก็บรักษาความยิ่งใหญ่; 22 ตุลาคม ค.ศ. 1913 - 30 กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย

จักรพรรดิมิญ หมั่ง

มิญ หมั่ง (Minh Mạng, 明命; 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1791 — 20 มกราคม ค.ศ. 1841) หรือในพงศาวดารไทยเรียก มินมาง มีพระนามเดิมว่า เหงียน ฟุก ด๋าม (Nguyễn Phúc Đảm, 阮福膽) เป็นจักรพรรดิแห่งเวียดนามจากราชวงศ์เหงียน ตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว และทรงเป็นผู้นำของเวียดนามในช่วงสงครามอานามสยามยุทธ จักรพรรดิซา ล็อง พระบิดาของจักรพรรดิมิญ หมั่ง ได้กอบกู้เวียดนามจากกบฏเต็ยเซิน จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงรับช่วงต่อบ้านเมืองจากพระบิดาและทรงจัดระเบียบการปกครองของราชสำนักเวียดนามให้เรียบร้อย จักรพรรดิมิญ หมั่งทรงเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อใหม่ (Neo–Confucianism) เป็นอย่างมาก เป็นกษัตริย์ที่ใส่พระทัยในการปกครองและความเป็นอยู่ของราษฎร แต่ทว่าความเคร่งครัดในลัทธิขงจื๊อของพระองค์ทำให้ราชสำนักเวียดนามเกิดความขัดแย้งกับมิชชันนารีชาวตะวันตก ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเวียดนามกับชาติตะวันตกโดยเฉพาะฝรั่งเศสเสื่อมถอยลงอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์ จนนำไปสู่การสูญเสียเอกราชแก่ฝรั่งเศสในที.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิมิญ หมั่ง

จักรพรรดิห่าม งี

มเด็จพระจักรพรรดิห่าม งี (Hàm Nghi, 咸宜) พระนามเดิมว่า เจ้าชายเหงียน ฟุก อึง หลิก (Nguyễn Phúc Ưng Lịch, 阮福膺𧰡; 3 สิงหาคม ค.ศ. 1872 - 4 มกราคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิห่าม งี

จักรพรรดิจีน

มเด็จพระเจ้ากรุงจีน หรือ จักรพรรดิจีน (หวงตี้; ฮกเกี้ยน:ฮ่องเต้; แต้จิ๋ว:อ้วงตี่) คือประมุขจักรวรรดิจีน โดยมีจิ๋นซีฮ่องเต้เป็นฮ่องเต้พระองค์แรก ก่อนสมัยราชวงศ์ฉิน ประเทศจีนได้ถูกแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ มากมาย และแต่ละแคว้นจะมีผู้ปกครอง เรียกว่า อ๋อง (王; พินอิน:wáng) ซึ่งแปลว่า พระมหากษัตริย์ แต่ต่อมาหลังจากอ๋องแห่งแคว้นฉินได้รวบรวมแว่นแคว้นต่าง ๆ เป็นหนึ่งเดียวจึงสถาปนาแผ่นดินเป็นจักรวรรดิจีน และประกาศใช้เป็นพระนามคำนำหน้าว่าจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ คือฉินซือหวงตี้ หรือจิ๋นซีฮ่องเต้ ตั้งแต่สมัยราชวงศ์ฉิน ฮ่องเต้ได้รับการเคารพในฐานะโอรสแห่งสวรรค์ คือเปรียบเสมือนได้รับอำนาจจากสวรรค์มาให้ปกครองประชาชน ตามหลักการ "สูงสุดโอรสสวรรค์ ล่างสุดนั้นประชาราษฎร" (最高的是天子,最低的是人民) การสืบทอดตำแหน่งฮ่องเต้มักอยู่ในรูปแบบจากบิดาไปยังบุตร โดยคำว่า ฮ่องเต้ หรือ หวงตี้ ถ้าแปลตรงตัวจะสามารถแปลได้ว่า "ผู้ปกครองที่ยิ่งใหญ่" (หวง 皇 - ผู้ทรงศักดิ์/Imperial, ตี้ 帝 - องค์อธิปัตย์/Sovereign) โดยนำมาจากพระนามฮ่องเต้องค์แรก คือ ฉินซือหวงตี้ (秦始皇帝) หลังจากนั้นตำแหน่งฮ่องเต้ก็ดำรงอยู่มานับพันปีซึ่งตั้งแต่ราชวงศ์ฉิน ราชวงศ์ฮั่น ราชวงศ์จิ้น ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หยวน ราชวงศ์หมิง โดยมาสิ้นสุดที่ราชวงศ์ชิง เนื่องจากบริหารบ้านเมืองล้มเหลว และยังถูกประเทศต่างชาติรุกราน เป็นเหตุให้ประเทศจีนเกิดการปฏิรูปการปกครองจากระบอบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ ตำแหน่งฮ่องเต้จึงสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิจีน

จักรพรรดิถั่ญ ท้าย

มเด็จพระจักรพรรดิถั่ญ ท้าย (Thành Thái, 成泰; 14 มีนาคม ค.ศ. 1879 – 24 มีนาคม ค.ศ. 1954) แห่งราชวงศ์เหงียน พระนามเดิม เจ้าชายเหงียน ฟุก บื๋ว เลิน (Nguyễn Phúc Bửu Lân, 阮福寶嶙) พระราชโอรสของสมเด็จพระจักรพรรดิสุก ดึ๊ก และสมเด็จพระจักรพรรดินีตือ มิญ ครองราชย์ตั้งแต่ยังมีพระชนมายุ 10 พรรษา และทรงครองราชย์แต่ปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิถั่ญ ท้าย

จักรพรรดิขาย ดิ่ญ

มเด็จพระจักรพรรดิขาย ดิ่ญ (Khải Định, จื๋อโนม: 啟定; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1885 – 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1925) ทรงเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 12 ของราชวงศ์เหงียนในเวียดนาม ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ปี ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิขาย ดิ่ญ

จักรพรรดิด่ง คั้ญ

มเด็จพระจักรพรรดิด่ง คั้ญ (Đồng Khánh, 同慶; 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1864 - 28 มกราคม ค.ศ. 1889) พระนามเดิมว่า เจ้าชายเหงียน ฟุก อึง ถิ (Nguyễn Phúc Ưng Thị, 阮福膺豉) และยังเป็นที่รู้จักในพระสมญานามว่า จั๊ญ มง (Chánh Mông) เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 9 แห่งราชวงศ์เหงียนของเวียดนาม พระองค์ทรงครองราชย์ 3 ปี ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิด่ง คั้ญ

จักรพรรดิตึ ดึ๊ก

ตึ ดึ๊ก (Tự Đức, 嗣德; 22 กันยายน ค.ศ. 1829 – 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1883) พงศาวดารไทยเรียก ตือดึก เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 4 แห่งราชวงศ์เหงียนของเวียดนาม ทรงครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิตึ ดึ๊ก

จักรพรรดิซวี เติน

มเด็จพระจักรพรรดิซวี เติน (Duy Tân, 維新; 19 กันยายน ค.ศ. 1900 - 26 ธันวาคม ค.ศ. 1945) เป็นยุวจักรพรรดิของราชวงศ์เหงียน และทรงครองราชย์ตั้งแต่ปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิซวี เติน

จักรพรรดิซา ล็อง

ซา ล็อง (Gia Long, 嘉隆) หรือ เหงียน ฟุก อั๊ญ (Nguyễn Phúc Ánh, 阮福暎) เป็นที่รู้จักกันในพระนาม พระเจ้าเวียดนามยาลองทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิซา ล็อง

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3

หลุยส์-นโปเลียน โบนาปาร์ต (Louis-Napoléon Bonaparte ลุย-นาโปเลยง โบนาปัทร์) ชื่อเกิดว่า ชาล-ลุย นโปเลียน โบนาปัทร์ (Charles-Louis Napoleon Bonaparte) เป็นประธานาธิบดีเพียงคนเดียวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่สอง เป็นบุคคลแรกที่ประชาชนเลือกตั้งโดยตรงให้ดำรงตำแหน่งนี้ อยู่ในตำแหน่งระหว่าง..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดินโปเลียนที่ 3

จักรพรรดิเกี๊ยน ฟุก

มเด็จพระจักรพรรดิเกี๊ยน ฟุก (Kiến Phúc, 建福; 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1869 – 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1884) เป็นยุวจักรพรรดิแห่งเวียดนาม ทรงครองราชย์เป็นเวลา 7 เดือนเศษ ระหว่างปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิเกี๊ยน ฟุก

จักรพรรดิเหียป ฮหว่า

มเด็จพระจักรพรรดิเหียป ฮหว่า (Hiệp Hòa, 協和) พระนามเดิม เจ้าชายเหงียน ฟุก ห่ง เสิ่ต (Nguyễn Phúc Hồng Dật, 阮福洪佚) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 6 แห่งราชวงศ์เหงียน และทรงครองราชย์เพียง 4 เดือน (กรกฎาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิเหียป ฮหว่า

จักรพรรดิเถี่ยว จิ

ี่ยว จิ (Thiệu Trị, 紹治; 6 มิถุนายน ค.ศ. 1807 - 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1847) พงศาวดารไทยเรียก เทียวตรีทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค), เจ้าพร.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรพรรดิเถี่ยว จิ

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรวรรดิญี่ปุ่น

จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

ักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส (French colonial empire) ประกอบด้วยอาณานิคมโพ้นทะเล, รัฐในอารักขา และ รัฐบริวารที่อยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลฝรั่งเศสในกรุงปารีส ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในศตวรรษที่ 16 โดยจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสถูกแบ่งออกเป็นสองยุค คือจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสที่หนึ่ง ซึ่งสิ้นสุดลงในปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส

จักรวรรดิเวียดนาม

ักรวรรดิเวียดนาม (Đế quốc Việt Nam; ฮ้านตึ: 越南帝国; ベトナム帝国) เป็นรัฐหุ่นเชิดอายุสั้นของจักรวรรดิญี่ปุ่น โดยมีอำนาจบริหารดินแดนเวียดนามทั้งหมดระหว่าง 11 มีนาคม - 23 สิงหาคม..

ดู ราชวงศ์เหงียนและจักรวรรดิเวียดนาม

จังหวัดอุดรมีชัย

อุดรมีชัย หรือ อุดดอร์เมียนเจ็ย (ឧត្ដរមានជ័យ อุตฺฎรมานชัย) เป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือของประเทศกัมพูชา ตั้งอยู่เลียบแนวชายแดนของประเทศไทย คำว่า อุดรมีชัย แปลว่า ทางเหนือมีชั.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจังหวัดอุดรมีชัย

จื๋อโนม

ื๋อโนม (chữ Nôm, 字喃/𡨸喃/𡦂喃) เป็นระบบอักษรที่ใช้เขียนภาษาเวียดนาม ปัจจุบันเลิกใช้แล้ว จื๋อโนมประกอบด้วยอักษรจีน ("ฮั่นจื้อ" เรียกเป็นภาษาเวียดนามว่า "ฮ้านตึ" - Hán tự) และอักขระที่ประดิษฐ์ขึ้นตามแบบอักษรจีน ตัวอย่างที่เก่าที่สุดอยู่ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 มักนิยมใช้เฉพาะในหมู่ชนชั้นสูงของเวียดนาม โดยส่วนใหญ่ใช้บันทึกวรรณคดีเวียดนาม (งานเขียนที่เป็นทางการส่วนใหญ่จะใช้ภาษาจีนแบบแผน ไม่ใช่ภาษาเวียดนาม) ปัจจุบันถือว่าถูกแทนที่โดยสมบูรณ์ด้วยจื๋อโกว๊กหงือซึ่งดัดแปลงจากอักษรละติน.

ดู ราชวงศ์เหงียนและจื๋อโนม

ธงชาติเวียดนาม

(ทั้งธงทั้งดาว) ธงชาติเวียดนาม ในปัจจุบันเป็นธงชาติของสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม มีชื่อที่เรียกโดยทั่วไปอีกชื่อหนึ่งว่า "ธงแดงดาวเหลือง" เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและธงชาติเวียดนาม

ขบวนการเกิ่นเวือง

วนการเกิ่นเวือง (Phong trào Cần Vương) เป็นขบวนการต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยมของฝรั่งเศสในเวียดนามโดยมีขุนนางที่สูญเสียอำนาจเป็นผู้มีบทบาทสำคัญ การต่อต้านเริ่มตั้งแต่ฝรั่งเศสยึดครองแคว้นโคชินจีนเมื่อ..

ดู ราชวงศ์เหงียนและขบวนการเกิ่นเวือง

ดานัง

นัง หรือ ด่าหนัง (Da Nang; Đà Nẵng) เป็นเมืองท่าสำคัญของเวียดนามกลางตอนใต้ ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลจีนใต้ จัดเป็น 1 ใน 5 เขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในเวียดนาม.

ดู ราชวงศ์เหงียนและดานัง

ด่าหลัต

หลัต ด่าหลัต ด่าหลัต (Đà Lạt; Da Lat, Dalat) เป็นเมืองในจังหวัดเลิมด่ง (Lâm Đồng) ทางภาคใต้ของประเทศเวียดนาม มีความสูงจากระดับน้ำทะเลประมาณ 1,500 เมตร (4,900 ฟุต) มีอากาศเย็น โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ย 18 ถึง 25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดที่เคยเกิดขึ้นในด่าหลัต คือ 27 องศาเซลเซียส และต่ำสุดคือ 6.5 องศาเซลเซียส ชาวฝรั่งเศสเริ่มสร้างเมืองนี้ในปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและด่าหลัต

ตังเกี๋ย

อาณานิคมตังเกี๋ย (Bắc Kỳ บั๊กกี่; Tonkin, Tongkin, Tonquin หรือ Tongking) เป็นส่วนที่อยู่ทางเหนือสุดของประเทศเวียดนาม มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงและมณฑลยูนนานของจีนทางเหนือ ทางตะวันตกติดต่อกับลาว และทางตะวันออกติดต่อกับอ่าวตังเกี๋ย ตังเกี๋ยตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมแม่น้ำแดงอันอุดมสมบูรณ์ และนับเป็นแหล่งปลูกข้าวที่สำคัญ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและตังเกี๋ย

ตาฮีตี

ตาฮีตี (Tahiti) เป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มของหมู่เกาะวินด์เวิร์ดของเฟรนช์พอลินีเชีย ตั้งอยู่ในหมู่เกาะโซไซตี มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ เกาะมีประชากร 178,133 คน จากข้อมูลการสำรวจประชากรในเดือนสิงหาคม..

ดู ราชวงศ์เหงียนและตาฮีตี

ประเทศฝรั่งเศส

ฝรั่งเศส (France ฟร็องส์) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐฝรั่งเศส (République française) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่น ๆ ในต่างทวีป ประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ทอดตัวตั้งแต่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนจนถึงช่องแคบอังกฤษและทะเลเหนือ และจากแม่น้ำไรน์จนถึงมหาสมุทรแอตแลนติก ชาวฝรั่งเศสมักเรียกแผ่นดินใหญ่ว่า หกเหลี่ยม (L'Hexagone) เนื่องจากรูปทรงทางกายภาพของประเทศ ประเทศฝรั่งเศสปกครองด้วยระบอบกึ่งประธานาธิบดี โดยยึดอุดมการณ์จากปฏิญญาว่าด้วยสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์ราและสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิล ซูรินาม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และซินต์มาร์เตินของเนเธอร์แลนด์ (ติดกับแซ็ง-มาร์แต็ง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสเคยเป็นหนึ่งในประเทศมหาอำนาจของโลกตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมา ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 จักรวรรดิฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดในโลก แผ่อาณาเขตตั้งแต่แอฟริกาตะวันตกจนถึงเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากอิทธิพลทางวัฒนธรรม ภาษาและการเมืองการปกครองของดินแดนนั้น ๆ ประเทศฝรั่งเศสถูกจัดให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติกว่า 82 ล้านคนต่อปี ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและมีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในกลุ่มประเทศอีกด้วย ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ เป็นสมาชิกประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก จีแปด นาโต้และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์ที่มีหัวรบนิวเคลียร์กว่า 360 หัวรบและเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 59 แห่ง.

ดู ราชวงศ์เหงียนและประเทศฝรั่งเศส

ประเทศแอลจีเรีย

แอลจีเรีย (Algeria; الجزائر) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย (People's Democratic Republic of Algeria; الجمهورية الجزائرية الديمقراطية الشّعبية) เป็นประเทศในแอฟริกาเหนือ และเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับ 1ในทวีปแอฟริกา หลังจากประเทศซูดานใต้ แยกออกจากประเทศซูดานมีอาณาเขตทางตะวันออกเฉียงเหนือจรดประเทศตูนิเซีย ทางตะวันออกจรดประเทศลิเบีย ทางตะวันออกเฉียงใต้จรดประเทศไนเจอร์ ทางตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศมาลีและประเทศมอริเตเนีย และทางตะวันตกจรดประเทศโมร็อกโก รวมถึงหลายกิโลเมตรของพื้นที่ที่ยึดครองมาได้บางส่วน คือ เวสเทิร์นสะฮารา ประเทศแอลจีเรียมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐ โดยรัฐธรรมนูญ ได้นิยามไว้ว่าแอลจีเรียเป็นประเทศ อิสลาม อาหรับ และอะมาซิก (เบอร์เบอร์) ชื่อประเทศแอลจีเรีย (Algeria) มาจากชื่อเมืองหลวงแอลเจียร์ ซึ่งมาจากคำภาษาอาหรับว่า อัลญะซาอิร (al-jazā’ir) ซึ่งแปลว่า "หมู่เกาะ" หมายถึงเกาะ 4 เกาะ ที่อยู่นอกชายฝั่งของเมือง ก่อนกลายเป็นส่วนหนึ่งของแผ่นดินใหญ่เมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและประเทศแอลจีเรีย

ประเทศเวียดนามใต้

รณรัฐเวียดนาม เป็นรัฐที่ปกครองบริเวณตอนใต้ของเวียดนามระหว่างปี พ.ศ. 2498 ถึง พ.ศ. 2518 ซึ่งต่างชาติโดยเฉพาะรัฐประชาธิปไตยและชาติต่อต้านคอมมิวนิสต์นิยมเรียกในชื่อว่า เวียดนามใต้ คำเรียก เวียดนามเหนือ และเวียดนามใต้ ถูกใช้อย่างแพร่หลายในปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและประเทศเวียดนามใต้

ประเทศเวียดนามเหนือ

วียดนามเหนือ หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (Việt Nam Dân Chủ Cộng Hòa) คือประเทศที่เกิดจากการรวมของแคว้นตังเกี๋ยและแคว้นอันนัมของฝรั่งเศส ประกาศก่อตั้งเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและประเทศเวียดนามเหนือ

นครโฮจิมินห์

นครโฮจิมินห์ (Thành phố Hồ Chí Minh, ถั่ญโฟ้โห่จี๊มิญ) หรือชื่อเดิม ไซ่ง่อน (Sài Gòn ส่ายก่อน) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศเวียดนาม ตั้งอยู่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง นครโฮจิมินห์เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเวียดนาม จากประชากรร้อยละ 7.5 ของประเทศ แต่มีจีดีพีถึงร้อยละ 20.2 และการลงทุนจากต่างประเทศมากถึงร้อยละ 34.9 ของทั้งประเท.

ดู ราชวงศ์เหงียนและนครโฮจิมินห์

แม่น้ำแดง

ทิวทัศน์แม่น้ำแดงช่วงที่ไหลผ่านประเทศจีน แม่น้ำแดง (红河; Sông Hồng) เป็นแม่น้ำที่ไหลจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนผ่านทางตอนเหนือของประเทศเวียดนาม ไปสิ้นสุดที่อ่าวตังเกี๋ย แม่น้ำแดงมีจุดกำเนิดในเทือกเขาทางตอนใต้ของต้าหลี่ในมณฑลยูนนาน ไหลไปทางตะวันออกเฉียงใต้ผ่านพื้นที่ที่เป็นถิ่นที่อยู่ของชาวไทลื้อ และไหลออกจากจีนที่เขตปกครองตนเองชนชาติอาข่าและอี๋ หงเหอ เข้าสู่เวียดนามที่จังหวัดหล่าวกาย เมื่อแม่น้ำไหลถึงที่ลุ่มใกล้ ๆ กับเหวียตจี่ก็จะเริ่มเข้าสู่พื้นที่ที่เรียกว่าดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำแดง หลังจากนั้นแม่น้ำแดงจะไหลผ่านฮานอย และไหลลงสู่อ่าวตัวเกี๋ยในที่สุด ด ด หมวดหมู่:แม่น้ำแดง หมวดหมู่:แม่น้ำนานาชาติในทวีปเอเชีย.

ดู ราชวงศ์เหงียนและแม่น้ำแดง

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง (မဲခေါင်မြစ်; ແມ່ນ້ຳຂອງ; ទន្លេដ៏ធំ; Mê Kông) มีต้นกำเนิดจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลผ่านบริเวณที่ราบสูงทิเบตและมณฑลชิงไห่ ประเทศจีน ผ่านประเทศจีน ประเทศพม่า ประเทศลาว ประเทศไทย ประเทศกัมพูชา และออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ประเทศเวียดนาม มีความยาวทั้งหมด 4,880 กิโลเมตร เป็นความยาวในประเทศจีน 2,130 กิโลเมตร ช่วงที่แม่น้ำไหลผ่านประเทศจีนมีชื่อเรียกว่า แม่น้ำหลานชาง หรือ หลานชางเจียง (จีนตัวย่อ: 澜沧江, จีนตัวเต็ม: 瀾滄江) แปลว่า "แม่น้ำที่มีความเชี่ยวกราก" และเมื่อไหลผ่านเข้าเขตประเทศพม่าและประเทศลาว เรียกว่า แม่น้ำของ รวมถึงคำเมืองล้านนาก็เรียก น้ำของ เช่นกัน ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า แม่น้ำโขง ลักษณะสำคัญของแม่น้ำโขงคือ มีตลิ่งที่สูงชันมากทั้งสองฝั่ง ไหลเลี้ยวเลาะไปตามไหล่เขา กระแสน้ำจะไหลจากทางเหนือลงสู่ทางใต้ตลอดทั้งปี ระดับน้ำในฤดูฝนกับฤดูแล้งจะมีความแตกต่างกันอย่างมาก ความเร็วของกระแสน้ำขึ้นอยู่กับแต่ละฤดูกาล ดินในแม่น้ำโขงเป็นดินทราย มีเกาะแก่งน้อยใหญ่กว่าหนึ่งร้อยแห่งเรียงรายตลอดแม่น้ำ การที่แม่น้ำโขงไหลผ่านหลายประเทศเช่นเดียวกับแม่น้ำดานูบในยุโรป ทำให้บางคนเรียกว่าแม่น้ำนานาชาติ และทำให้ได้รับการขนานนามว่า แม่น้ำดานูบตะวันออก นอกจากนี้ ในประเทศจีน แม่น้ำโขงยังเป็น 1 ในแม่น้ำ 3 สาย ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกร่วมกับแม่น้ำแยงซีและแม่น้ำสาละวินในเขตพื้นที่มณฑลยูนนาน ภายใต้ชื่อ พื้นที่คุ้มครองแม่น้ำขนานสามสายแห่งยูนนาน พื้นที่ดังกล่าวนับได้ว่าเป็นสถานที่แห่งหนึ่งบนโลกที่มีความอุดมสมบูรณ์และความหลายหลายทางชีวภาพสูง สัตว์น้ำขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญและพบได้เฉพาะในแม่น้ำโขงได้แก่ ปลาบึก.

ดู ราชวงศ์เหงียนและแม่น้ำโขง

โรมันคาทอลิก

ระศาสนจักรคาทอลิก (Catholic Church) หรือ คริสตจักรโรมันคาทอลิก (Roman Catholic Church) เป็นคริสตจักรที่ใหญ่ที่สุดในโลกซึ่งมีศาสนิกชนกว่าพันล้านคน มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีพันธกิจหลักคือ การประกาศข่าวดีเรื่องพระเยซูคริสต์ โปรดศีลศักดิ์สิทธิ์ และปฏิบัติกิจเมตตา ศาสนจักรคาทอลิกเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดในโลกและมีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์อารยธรรมตะวันตกO'Collins, p.

ดู ราชวงศ์เหงียนและโรมันคาทอลิก

โฮจิมินห์

มินห์ (Hồ Chí Minh, โห่ จี๊ มิญ; คำแปล "แสงสว่างที่นำทาง") เป็นนักปฏิวัติชาวเวียดนาม ซึ่งในภายหลังได้กลายมาเป็นนายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม (เวียดนามเหนือ) หลังจากสิ้นสุดของสงครามเวียดนาม ไซ่ง่อน เมืองหลวงเก่าของเวียดนามใต้ ได้ถูกเปลี่ยนชื่อมาเป็นนครโฮจิมินห์ เพื่อเป็นเกียรติแก่โฮจิมินห์ โฮจิมินห์ เป็นบุคคลที่ชาวเวียดนามถือว่าเป็นบุคคลที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการประกาศอิสรภาพของเวียดนาม.

ดู ราชวงศ์เหงียนและโฮจิมินห์

โคชินไชนา

อาณานิคมโคชินไชนา หรือ อาณานิคมโคชินจีน (Cochinchina; Nam Kỳ, Kampuchea Krom) เป็นบริเวณที่อยู่ทางใต้ของเวียดนามซึ่งมีเมืองสำคัญคือไซ่ง่อนหรือไพรนครในภาษาเขมร ดินแดนนี้เป็นอาณานิคมของฝรั่งเศสตั้งแต..

ดู ราชวงศ์เหงียนและโคชินไชนา

โง ดิ่ญ เสี่ยม

ง ดิ่ญ เสี่ยม (Ngô Đình Diệm; ในอดีตนิยมทับศัพท์ว่า โง ดินห์ เดียม) เป็นประธานาธิบดีคนแรกของเวียดนามใต้ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและโง ดิ่ญ เสี่ยม

เรอูนียง

รอูนียง หรือ เรอูว์นียง (La Réunion) เป็นเกาะตั้งอยู่บริเวณมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกของมาดากัสการ์ และห่างจากมอริเชียสไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 200 กิโลเมตร (130 ไมล์) ในระบบบริหาร เรอูนียงเป็นหนึ่งในจังหวัดโพ้นทะเลของประเทศฝรั่งเศส เหมือนกับจังหวัดโพ้นทะเลอื่น ๆ เรอูนียงก็เป็นหนึ่งใน 18 แคว้นของประเทศฝรั่งเศส (ในฐานะแคว้นโพ้นทะเล) และเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐโดยมีสถานะเท่ากับแคว้นอื่น ๆ ในภาคพื้นทวีปยุโรป เรอูนียงเป็นแคว้นที่อยู่ห่างไกลที่สุดในกลุ่มสหภาพยุโรปและใช้สกุลเงินยูโร ตามความจริง ตำแหน่งที่ตั้งของเรอูนียงในเขตเวลาทางด้านตะวันออกของทวีปยุโรป ทำให้เรอูนียงเป็นแคว้นแรกในโลกที่ใช้สกุลเงินยูโร และการใช้สกุลเงินยูโรเป็นครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อเวลา 00.01 นาฬิกา เมื่อนายกเทศมนตรีเมืองแซง-เดอนี เรอเน-ปอล วิกโตเรีย ซื้อลิ้นจี่ถุงหนึ่งในตล.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเรอูนียง

เวียดมินห์

งเวียดมินห์ กองทัพประชาชนเวียดนาม หรือ เหวียดมิงห์ หรือ เวียดมินห์ (Việt Nam Độc Lập Đồng Minh Hội หรือ Việt Minh) หรือบางแหล่งก็เรียก สันนิบาตเพื่อเอกราชเวียดนาม คือ ขบวนการทางการเมือง โดยมีจุดประสงค์เพื่อปลดปล่อยเวียดนามออกจากการปกครองของฝรั่งเศส จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเวียดมินห์

เว้

ว้ (Huế เฮฺว้; จื๋อโนม: 化) เป็นเมืองเอกของจังหวัดเถื่อเทียน-เว้ ประเทศเวียดนาม และเคยเป็นเมืองหลวงเก่าในสมัยราชวงศ์เหงียนช่วงปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและเว้

เหงียน ฟุก กั๋ญ

หงียน ฟุก กั๋ญ (Nguyễn Phúc Cảnh, จื๋อโนม: 阮福景; 24 มีนาคม ค.ศ. 1780 – 6 เมษายน ค.ศ. 1801) หรือพระนามลำลองว่า เจ้าชายกั๋ญ (Hoàng tử Cảnh, 皇子景) ต่อมาได้เป็นพระยุพราชเจ้าแห่งเวียดนาม มีพระนามาภิไธยว่า มกุฎราชกุมารอัญเส่ว (Anh Duệ thái tử, 英睿太子) เป็นพระราชโอรสในจักรพรรดิซา ล็อง หรือองเชียงสือ (Gia Long, 嘉隆) พระองค์ทรงเป็นเจ้านายที่มีชื่อเสียง เนื่องจากขณะมีพระชันษาได้ 7 ปี ได้เสด็จเยือนประเทศฝรั่งเศสกับปีแยร์ ปีโญ เดอ เบแอน (Pierre Pigneau de Béhaine) หรือบ๊า ดา หลก (Bá Đa Lộc, 百多祿) บาทหลวงชาวฝรั่งเศส เพื่อลงพระนามาภิไธยในสนธิสัญญาการเป็นพันธมิตรระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดนาม แม้พระองค์จะมีพระอิสริยยศเป็นมกุฎราชกุมารสืบราชสมบัติตามกฎมนเทียรบาล แต่พระองค์ก็ทิวงคตเสียในปี..

ดู ราชวงศ์เหงียนและเหงียน ฟุก กั๋ญ

เจ้าชายบ๋าว ทั้ง

้าชายบ๋าว ทั้ง แห่งเวียดนาม (Bảo Thắng; จื๋อโนม: 保陞) ประสูติเมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1943 ที่เมืองด่าหลัต จังหวัดเลิมด่ง ประเทศเวียดนาม พระโอรสองค์สุดท้ายในสมเด็จพระจักรพรรดิบ๋าว ดั่ย แห่งเวียดนาม และสมเด็จพระจักรพรรดินีนาม เฟือง แห่งเวียดนามแห่งราชวงศ์เหงียน ซึ่งเป็นสมเด็จพระจักรพรรดิ และจักรพรรดินีองค์สุดท้ายแห่งเวียดนามด้วย โดยหลังจากที่มกุฎราชกุมารบ๋าว ล็อง แห่งเวียดนาม ซึ่งเป็นพระเชษฐา (พี่ชาย) ของพระองค์ ได้สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเจ้าชายบ๋าว ทั้ง

เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

อนุสาวรีย์เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ณ วัดมหาธาตุ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) (13 มกราคม พ.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

ตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง หรือ กวางสี หรือ กวางไซ (จ้วง: Gvangjsih Bouxcuengh Swcigih) หรือชื่อย่อว่า กุ้ย (桂; จ้วง: Gvei) เป็นเขตปกครองตนเองระดับจังหวัดตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศจีน มีเมืองเอกคือหนานหนิง.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง

เดียนเบียนฟู

ียนเบียนฟู (Dien Bien Phu) หรือ เดี่ยนเบียนฝู (Điện Biên Phủ) (ชื่อเดิม: แถง) เป็นเมืองหนึ่งในจังหวัดเดี่ยนเบียนซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศเวียดนาม ห่างจากกรุงฮานอยประมาณ 200 กิโลเมตร มีชื่อเสียงเนื่องจากเป็นที่รบยุทธการที่เดียนเบียนฟูระหว่างฝรั่งเศสกับเวียดมินห์ เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.

ดู ราชวงศ์เหงียนและเดียนเบียนฟู

1 กันยายน

วันที่ 1 กันยายน เป็นวันที่ 244 ของปี (วันที่ 245 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 121 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ1 กันยายน

15 สิงหาคม

วันที่ 15 สิงหาคม เป็นวันที่ 227 ของปี (วันที่ 228 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 138 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ15 สิงหาคม

17 เมษายน

วันที่ 17 เมษายน เป็นวันที่ 107 ของปี (วันที่ 108 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 258 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ17 เมษายน

22 กันยายน

วันที่ 22 กันยายน เป็นวันที่ 265 ของปี (วันที่ป 266 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 100 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ22 กันยายน

28 กรกฎาคม

วันที่ 28 กรกฎาคม เป็นวันที่ 209 ของปี (วันที่ 210 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 156 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ28 กรกฎาคม

30 สิงหาคม

วันที่ 30 สิงหาคม เป็นวันที่ 242 ของปี (วันที่ 243 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 123 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ30 สิงหาคม

31 กรกฎาคม

วันที่ 31 กรกฎาคม เป็นวันที่ 212 ของปี (วันที่ 213 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 153 วันในปีนั้น.

ดู ราชวงศ์เหงียนและ31 กรกฎาคม

ดูเพิ่มเติม

รัฐสิ้นสภาพในประวัติศาสตร์จีน

รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2345

ราชวงศ์เวียดนาม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ จักรวรรดิราชวงศ์เหงียน

กษัตรีองค์มีฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายอักษะภาษาฝรั่งเศสภาษาเวียดนามมกุฎราชกุมารบ๋าว ล็องรัฐหุ่นเชิดรัฐในอารักขาอันนัมรัฐเวียดนามราชวงศ์ชิงลัทธิขงจื๊อศาสนาพุทธศาสนาคริสต์สมบูรณาญาสิทธิราชย์สมเด็จพระจักรพรรดิสุก ดึ๊กสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)สหรัฐสงครามโลกครั้งที่สองอาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์)อาณาจักรจามปาอานัมสยามยุทธอินโดจีนของฝรั่งเศสฮานอยฮ่องกงจักรพรรดิบ๋าว ดั่ยจักรพรรดิมิญ หมั่งจักรพรรดิห่าม งีจักรพรรดิจีนจักรพรรดิถั่ญ ท้ายจักรพรรดิขาย ดิ่ญจักรพรรดิด่ง คั้ญจักรพรรดิตึ ดึ๊กจักรพรรดิซวี เตินจักรพรรดิซา ล็องจักรพรรดินโปเลียนที่ 3จักรพรรดิเกี๊ยน ฟุกจักรพรรดิเหียป ฮหว่าจักรพรรดิเถี่ยว จิจักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศสจักรวรรดิเวียดนามจังหวัดอุดรมีชัยจื๋อโนมธงชาติเวียดนามขบวนการเกิ่นเวืองดานังด่าหลัตตังเกี๋ยตาฮีตีประเทศฝรั่งเศสประเทศแอลจีเรียประเทศเวียดนามใต้ประเทศเวียดนามเหนือนครโฮจิมินห์แม่น้ำแดงแม่น้ำโขงโรมันคาทอลิกโฮจิมินห์โคชินไชนาโง ดิ่ญ เสี่ยมเรอูนียงเวียดมินห์เว้เหงียน ฟุก กั๋ญเจ้าชายบ๋าว ทั้งเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเดียนเบียนฟู1 กันยายน15 สิงหาคม17 เมษายน22 กันยายน28 กรกฎาคม30 สิงหาคม31 กรกฎาคม