ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู
ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู มี 6 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเจ้าเมงจีโยพะโคตองอูเถรวาท
พระเจ้าบุเรงนอง
ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..
พระเจ้าบุเรงนองและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าบุเรงนองและเมงเยสีหตู ·
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้
ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.
พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และเมงเยสีหตู ·
พระเจ้าเมงจีโย
ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2074 พระนามของพระองค์อาจแปลได้ว่า "พระองค์ดำ" (มิน.
พระเจ้าเมงจีโยและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าเมงจีโยและเมงเยสีหตู ·
พะโค
(ပဲခူးမြို့, Bago หรือ Pegu) หรือชื่อในอดีตคือ หงสาวดี (ဟံသာဝတီ, หงสาวะโตย; Hongsawatoi, Hanthawaddy, Hanthawady, Hanthawadi หรือ Handawaddy) เป็นเมืองหลวงของเขตหงสาวดี ตั้งอยู่ใกล้เมืองเมาะตะมะ ทางตอนใต้ของประเทศพม่า นครหงสาวดีเคยเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรหงสาวดีของชาวมอญ และอาณาจักรตองอูของชาวพม.
พะโคและราชวงศ์ตองอู · พะโคและเมงเยสีหตู ·
ตองอู
ตองอู หรือ ตองงู (တောင်ငူ;; เตาง์งู; คำแปล: เมืองในขุนเขา) เป็นเมืองในเขตหงสาวดี ประเทศพม่า อยู่ห่างจากย่างกุ้งไปทางเหนือ 220 กิโลเมตร ตั้งบนฝั่งแม่น้ำสะโตง เป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรอิสระตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14–16 ในสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นเข้ายึดครองระหว่างปี..
ตองอูและราชวงศ์ตองอู · ตองอูและเมงเยสีหตู ·
เถรวาท
รวาท (อ่านว่า เถ-ระ-วาด) (theravāda เถรวาท, स्थविरवाद sthaviravāda สฺถวิรวาท; Theravada) โดยศัพท์แปลว่า "ตามแนวทางของพระเถระ" เป็นชื่อของนิกายที่เก่าแก่ที่สุดในศาสนาพุทธ ฝ่ายมหายานเรียกนิกายนี้ว่า หีนยาน (บาลี/สันสกฤต: हीनयान) นิกายเถรวาทเป็นนิกายหลักที่ได้รับการนับถือในประเทศศรีลังกา (ประมาณ 70% ของประชากรทั้งหมด) และประเทศในแผ่นดินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย กัมพูชา ลาว และพม่า และเป็นส่วนน้อยในประเทศจีนและเวียดนาม โดยเฉพาะในมณฑลยูนนาน เนปาล บังกลาเทศที่เขตจิตตะกอง เวียดนามทางตอนใต้ใกล้ชายแดนกัมพูชา อินโดนีเซีย มาเลเซียมีนับถือทางตอนเหนือของประเทศ มีศาสนิกส่วนใหญ่เป็นชาวไทยและชาวสิงหล ตัวเลขผู้นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาทอยู่ที่ประมาณ 100 ล้านคน สำหรับประเทศไทยมีผู้นับถือพุทธศาสนานิกายเถรวาทประมาณ 94% ของประชากรทั้งหมด (ข้อมูลจากกรมศาสนา เฉพาะประชากรอิสลามในประเทศไทยมีไม่น้อยกว่า 10 ล้านคน คิดเป็นสัดส่วนไม่น้อยกว่า 15% ของประชากรไทย ไม่นับผู้นับถือศาสนาคริสต์ ฮินดู สิกข์ และไม่มีศาสนา จึงเป็นไปได้ว่าชาวพุทธในประเทศไทย อาจมีไม่ถึง 80% ของจำนวนประชากรทั้งหมด) นิกายเถรวาทได้รับการนับถือคู่กับนิกายอาจริยวาท (คือนิกายมหายาน ในปัจจุบัน).
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู
การเปรียบเทียบระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู
ราชวงศ์ตองอู มี 71 ความสัมพันธ์ขณะที่ เมงเยสีหตู มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 6, ดัชนี Jaccard คือ 7.23% = 6 / (71 + 12)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและเมงเยสีหตู หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: