โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า

ราชวงศ์ตองอู vs. รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า

ราชวงศ์ตองอู (Toungoo Dynasty; တောင်ငူခေတ်) ราชวงศ์ที่ 2 ในประวัติศาสตร์พม่า ภายหลังจากราชวงศ์พุกาม ราชวงศ์แรกล่มสลายลงจากการรุกรานของชาวมองโกลโดยกุบไลข่าน พระเจ้าเมงจีโย ได้รวบรวมชาวพม่าที่หลงเหลืออยู่อย่างกระจัดกระจาย โดยสถาปนาเมืองตองอูขึ้นเป็นราชธานี เพราะเป็นเมืองที่อยู่ในขุนเขาซึ่งเป็นปราการที่เข้มแข็ง ตองอูเข้มแข็งขึ้นมารัชสมัยของ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระโอรสของพระองค์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อมา โดยได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรขยายไปรอบด้าน เช่น แปร, พะสิม อังวะ, ยะไข่ และที่สำคัญที่สุดคือ หงสาวดี อันเป็นอาณาจักรเดิมของมอญ ซึ่งเป็นศัตรูที่สำคัญของพม่า ยุคสมัยของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ได้ครอบคลุมอาณาจักรพม่าทั้งตอนบนและตอนล่างลุ่มน้ำอิระวดี อีกทั้งได้บุคลากรที่สำคัญ เช่น มหาอุปราชาบุเรงนอง, เมงเยสีหตู ร่วมกันสร้างอาณาจักรให้ยิ่งใหญ่ เข้มแข็ง และได้ย้ายเมืองหลวงจากตองอูมายังหงสาวดี ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ เมืองต่าง ๆ ที่เคยขึ้นต่ออาณาจักร ก็แข็งเมืองไม่ยอมขึ้นตรงต่อไป มีกบฏเกิดขึ้นมากมาย มหาอุปราชาบุเรงนองต้องใช้เวลาปราบปรามอยู่ราวอีก 2-3 ปี จึงจะได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์ ในรัชสมัยของพระเจ้าบุเรงนอง ได้แผ่อาณาเขตของอาณาจักรตองอู ให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยครอบคลุมตั้งแต่ลุ่มน้ำอิระวดี ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ไปจรดถึงลุ่มน้ำโขงในลาว มีเมืองเป็นประเทศราชต่าง ๆ มากมาย เช่น เชียงใหม่, ฉาน, อยุธยา, ล้านช้าง, กัมพุช เป็นต้น จนได้การขนานพระนามว่าเป็น "พระเจ้าชนะสิบทิศ" แต่ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบุเรงนอง ศูนย์กลางอำนาจของอาณาจักรถูกสั่นคลอน เนื่องจากการปกครองอย่างแข็งกร้าว ไร้ไมตรีของพระเจ้านันทบุเรง พระราชโอรสของพระองค์ เมืองที่เคยขึ้นเป็นประเทศราชต่าง ๆ ต่างแข็งเมืองและได้ประกาศอิสรภาพ ทำสงครามรบพุ่งกันตลอดมา เช่น แปร, อังวะ, อยุธยา เป็นต้น ในที่สุดเมืองทั้งหลายเหล่านี้ก็แตกแยกกระจัดกระจายออกไป และภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้านันทบุเรง ราชวงศ์ตองอูก็ยังได้สืบราชสมบัติต่อมา แต่ไม่มีกษัตริย์พระองค์ใดที่เข้มแข็งพอที่จะก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำกอบกู้อาณาจักรขึ้นมา แม้นจะมีความพยายามจากพระเจ้าอโนเพตลุน ราชนัดดาของพระเจ้าบุเรงนอง ซึ่งเรียกกันว่า "ยุคนยองยาน" (Nyaungyan Dynasty) แต่ก็สำเร็จเพียงชั่วระยะเวลาสั้น ๆ หลังจากยุคนี้แล้ว มอญสามารถตั้งตัวได้และขึ้นมาเป็นใหญ่แทน ก่อนที่ทางพม่าจะสถาปนาศูนย์กลางอำนาจขึ้นมาอีกครั้งในสมัยพระเจ้าอลองพญา ในทางวิชาการ นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งราชวงศ์ตองอูไว้เป็น 2 ยุค คือ ราชวงศ์ตองอูตอนต้น กินระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2029 - พ.ศ. 2142 คือตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าเมงจีโยจนถึงพระเจ้านันทบุเรง และราชวงศ์ตองอูตอนปลายหรือยุคหลัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2140 - พ.ศ. 2295 ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้านยองยานจนถึงการสถาปนาอำนาจขึ้นมาของพระเจ้าอลองพญ. ระเจ้าธีบอถูกเนรเทศในปี 1885.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า

ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พระเจ้าบุเรงนองพระเจ้าญองยานพระเจ้าสเน่ห์มินพระเจ้าอลองพญาพระเจ้าอะเนาะเพะลูนพระเจ้าตะนินกันเหว่พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้พระเจ้าตาลูนพระเจ้าปีนดะเลพระเจ้าปเยพระเจ้านะราวะระพระเจ้านันทบุเรงพระเจ้าเมงจีโย

พระเจ้าบุเรงนอง

ระเจ้าบุเรงนอง หรือพระนามเต็มว่า พระเจ้าบุเรงนองกะยอดินนรธา (Bayinnaung Kyawhtin Nawrahta, ဘုရင့်နောင် ကျော်ထင်နော်ရထာ บะยิ่นเหน่าง์จ่อถิ่นหน่อยะถ่า; 16 มกราคม 2059 – 10 พฤศจิกายน 2124) หรือ พระเจ้าหงษานีพัตร เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชย์ตั้งแต่ปี..

พระเจ้าบุเรงนองและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าบุเรงนองและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าญองยาน

ระเจ้าญองยาน (ညောင်ရမ်းမင်း เหญ่าง์ยาน) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอู ครองราชย์เป็นพระเจ้าอังวะระหว่างปี..

พระเจ้าญองยานและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าญองยานและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าสเน่ห์มิน

ระเจ้าสเน่ห์มินเป็นพระมหากษัตริย์พม่าองค์ที่ 12แห่งราชวงศ์ตองอูครองราชต่อจากพระเจ้ามังกะยอดินพระบิดาของพระองค์ เมื่อปี..

พระเจ้าสเน่ห์มินและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าสเน่ห์มินและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอลองพญา

ระบรมราชานุสาวรีย์ของพระเจ้าอลองพญาที่หน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน นครย่างกุ้ง พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าอลองพญา หรือ พระเจ้าอลองพญารี (Alaungpaya, အလောင်းမင်းတရား พระนามของพระองค์ออกสำเนียงเป็นภาษาพม่าว่า "อลองเมงตะยาจี" หรือ "อลองพะ" มีความหมายว่า "พระโพธิสัตว์"; สิงหาคม ค.ศ. 1714 — 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1760) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าระหว่างวันที่ 21 มีนาคม..

พระเจ้าอลองพญาและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าอลองพญาและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าอะเนาะเพะลูน

ระเจ้าอะเน่าก์แพตหลุ่น (အနောက်ဖက်လွန် อะเน่าก์แพะหลุ่นมิง แปลว่า พระราชาแห่งทิศตะวันตก) หรือ พระเจ้ามหาธรรมราชา พงศาวดารมอญพม่าเรียกว่าพระเจ้าปราสาททองกลดแก้ว เป็นพระมหากษัตริย์พม่าในราชวงศ์ตองอู เมื่อสิ้นพระเจ้าบุเรงนองและพระเจ้านันทบุเรงแล้ว ฐานอำนาจของราชวงศ์ตองอูสั่นคลอนเนื่องจากเกิดการกบฏจากพม่าด้วยกันเองในหลายหัวเมือง อีกทั้งการรุกรานจากต่างชาติ เช่น มอญและชาวโปรตุเกส พระองค์ทรงเป็นผู้รวบรวมอาณาจักรพม่าให้กลับมายิ่งใหญ่ได้อีกครั้ง แม้ไม่ยิ่งใหญ่เท่าสมัยของพระอัยกาก็ตาม.

พระเจ้าอะเนาะเพะลูนและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าอะเนาะเพะลูนและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะนินกันเหว่

ระเจ้าทนินกันเว (တနင်္ဂနွေမင်း) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า ตั้งแต..

พระเจ้าตะนินกันเหว่และราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าตะนินกันเหว่และรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้

ระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ หรือ ตะเบ็งเฉวฺ่ที (Tabinshwehti, တပင်ရွှေထီး; สำเนียงพม่าออกว่า "ตะเบ็งเฉวฺ่ที") เป็นพระมหากษัตริย์พม่ารัชกาลที่ 2 ในราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสเพียงพระองค์เดียวในพระเจ้าเมงจีโย ซึ่งเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู.

พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าตาลูน

ระเจ้าทาลุน (พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดีตลุนมิน) เป็นพระอนุชาของ พระเจ้าอโนเพตลุน และเป็นพระโอรสของ พระเจ้าสีหสุธรรมราชา หรือ เจ้านยองยาน พระโอรสของพระเจ้าบุเรงนอง กล่าวคือพระองค์เองและพระเชษฐาธิราชต่างก็เป็นพระราชนัดดาในพระเจ้าชนะสิบทิศบุเรงนอง พระเจ้าสิริสุธรรมราชามหาธิบดี (พระเจ้าทาลุน) (พ.ศ. 2172-2191) ทรงครองราชย์ต่อจาก พระเจ้ามินแยไดกปาผู้เป็นพระภาติยะของพระองค์ ทรงเป็นกษัตริย์ที่ได้รับการยกย่องมากองค์หนึ่งของพม่า โดยเฉพาะในด้านศาสนาและการปกครอง ทรงจัดสวัสดิการให้ประชาชน ปรับปรุงระเบียบการปกครอง ฟื้นฟูหลักพระธรรมศาสตร์ในสมัยพุกาม ทำนุบำรุงพุทธศาสนา ได้รับการยกย่องเป็นธรรมราชา ด้านการทหาร ทรงสามารถเกณฑ์ไพร่พลเพิ่มจาก 20,000 เป็น 400,000 ได้ และต้านทานการรุกรานจากจีนได้ในปี พ.ศ. 2180 อาณาจักรของพระองค์ครอบคลุมพม่าในปัจจุบัน (ยกเว้นยะไข่) และล้านนาทั้งหมด (กล่าวกันว่ารวมถึงล้านช้างด้วย) อย่างไรก็ดี สิ่งที่น่าสนใจคือ ที่กล่าวกันว่าพระองค์บำรุงพระศาสนานั้น อันที่จริงก็มีความเกี่ยวพันกับการเกณฑ์ทหารและแรงงาน กล่าวคือ ปี.

พระเจ้าตาลูนและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าตาลูนและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปีนดะเล

พระเจ้าพินดาเล (2191-2204) กษัตริย์องค์ที่ 8 แห่งราชวงศ์ตองอู เป็นพระราชโอรสองค์โตในพระเจ้าทาลุน เสด็จขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดาเมื่อปีพ.ศ. 2191 โดย 13 ปีแห่งการครองราชย์บ้านเมืองของพระองค์กลับอ่อนแอลง ตรงข้ามกับรัชสมัยของพระเจ้าอโนเพตลุน สมเด็จพระปิตุลา (ลุง) ของพระองค์ และพระเจ้าทาลุนพระราชบิดาของพระองค์ที่พาราชวงศ์ตองอูกลับมายิ่งใหญ่อีกครั้ง เมื่อถึงปีพ.ศ. 2204 ขุนนางทั้งหลายลงมติปลดพระเจ้าพินดาเลออกจากราชสมบัติ และอัญเชิญพระอนุชาของพระเจ้าพินดาเลขึ้นครองราชย์เป็น พระเจ้าปเย พร้อมกันนั้นพระเจ้าปเยก็ทรงมีบัญชาให้นำพระเจ้าพินดาเลไปสำเร็จโทษ หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู.

พระเจ้าปีนดะเลและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าปีนดะเลและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าปเย

ระเจ้าปเย (พระเจ้ามหาสีหสุรสุธรรมราชา) เป็นพระมหากษัตริย์พม่าองค์ที่ 9แห่งราชวงศ์ตองอูพระองค์เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าทาลุน พระองค์ครองราชย์เมื่อปี..

พระเจ้าปเยและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าปเยและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านะราวะระ

พระเจ้านราวาระ เป็นพระมหากษัตริย์พม่าพระองค์ที่ 10 แห่ง ราชวงศ์ตองอู ขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2215 แต่พระองค์ครองราชย์แค่เพียงปีเดียวก็สิ้นพระชนม์อย่างกะทันหัน พระอนุชาของพระองค์จึงขึ้นครองราชย์ต่อเป็น พระเจ้ามังกะยอดิน หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ราชวงศ์ตองอู.

พระเจ้านะราวะระและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้านะราวะระและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้านันทบุเรง

นันทบุเรง (နန္ဒဘုရင်,; Nanda Bayin; 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1535 – 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600) หรือ พระเจ้าหงษางาจีสะยาง เป็นพระมหากษัตริย์พม่าจากราชวงศ์ตองอู เสวยราชสมบัติตั้งแต..

พระเจ้านันทบุเรงและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้านันทบุเรงและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าเมงจีโย

ระเจ้าเมงจีโย (สำเนียงพม่าออกว่า มินจีโหญ่) (Mingyinyo, မင်းကြီးညို) หรือ พระเจ้าสิริชัยสุระ ตามพงศาวดารไทย หรือในนวนิยายผู้ชนะสิบทิศเรียก เมงกะยินโย เป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ตองอู ราชวงศ์และอาณาจักรที่ 2 ของประวัติศาสตร์พม่า พระเจ้าเมงจีโยเดิมเป็นนายทหารที่มีความสามารถในการรบ ได้ทำการรวบรวมชาวพม่าที่อยู่กันอย่างกระจัดกระจายหลังการล่มสลายของอาณาจักรพุกามภายหลังการโจมตีของมองโกล โดยได้รับความช่วยเหลือจากขุนนางสำคัญหลายคน เช่น เมงเยสีหตู (บางคนถูกสมมติเป็นตัวละครในนวนิยายผู้สิบทิศ เช่น มหาเถรวัดกุโสดอ) พระเจ้าเมงจีโยได้สถาปนาเมืองตองอู ซึ่งเป็นเมืองในขุนเขาเป็นปราการที่ดีขึ้นเป็นศูนย์กลางอำนาจใหม่ ต่อมามีการแผ่ขยายอำนาจเข้ายึดเมืองแปรโดยสามารถรบชนะพระเจ้านระบดีแห่งเมืองแปรได้สำเร็จ ต่อมาคิดจะเข้ายึดเมืองหงสาวดีที่มีพระเจ้าสการะวุตพีเป็นกษัตริย์ แต่ไม่สำเร็จเนื่องจากพระเจ้าเมงจีโยสวรรคตเสียก่อน ในมหาราชวงศ์พงศาวดารพม่า ระบุว่า พระองค์ได้พบกับพระมเหสีเมื่อเสด็จทอดพระเนตรการสร้างเขื่อน ซึ่งต่อมามีพระโอรสเพียงพระองค์เดียว ที่ได้ครองราชย์ต่อมา คือ พระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้ พระเจ้าเมงจีโย สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2074 พระนามของพระองค์อาจแปลได้ว่า "พระองค์ดำ" (มิน.

พระเจ้าเมงจีโยและราชวงศ์ตองอู · พระเจ้าเมงจีโยและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า

ราชวงศ์ตองอู มี 71 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า มี 30 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 12.87% = 13 / (71 + 30)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราชวงศ์ตองอูและรายพระนามพระมหาอุปราชาพม่า หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »