โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ราชวงศ์ชิงและหรงลู่

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ราชวงศ์ชิงและหรงลู่

ราชวงศ์ชิง vs. หรงลู่

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต.. กวาเอ่อร์เจีย หรงลู่ (Guwalgiya Ronglu หรือ Guwalgiya Jung-lu; 6 เมษายน 1836 – 11 เมษายน 1903) เป็นนายทหารและรัฐบุรุษชาวจีนเมื่อปลายราชวงศ์ชิง กำเนิดในสกุลกวาเอ่อร์เจียซึ่งทรงอิทธิพลอยู่ในกองธงขาวพิสุทธิ์ (正白旗) แห่งแปดกองธง (八旗) ทั้งยังเป็นญาติกับพระพันปีฉือสี่ (慈禧太后) ได้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายตำแหน่งในราชสำนัก เช่น ผู้ตรวจฝ่ายซ้าย (左都御史) ขุนนางกรมความลับทหาร (軍機處) ขุนนางสำนักวิเทโศบาย (總理衙門) เจ้ากรมรักษาพระนคร (武衛軍) ผู้ว่าการจื๋อลี่ (直隸總督) มหาบัณฑิต (大学士) แม่ทัพเก้าประตู (九門提督) เสนาบดียุทธนาการ (兵部尚书) และเสนาบดีโยธาธิการ (工部尚書).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ราชวงศ์ชิงและหรงลู่

ราชวงศ์ชิงและหรงลู่ มี 8 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กบฏนักมวยยฺเหวียน ชื่อไข่ราชวงศ์ชิงสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งจักรพรรดิผู่อี๋คัง โหย่วเหวย์ซูสีไทเฮาแปดกองธง

กบฏนักมวย

กบฏนักมวย (Boxer Rebellion) หรือ ศึกพันธมิตรแปดชาติ เป็นการก่อความไม่สงบเพื่อต่อต้านจักรวรรดินิยมและคริสต์ศาสนานำโดย "สมาคมอี้เหอถวน" ในสมัยศตวรรษที่ 19 ชาวต่างชาติได้เข้ามาค้าขายในประเทศจีนนานเข้า ชาวต่างชาติก็เริ่มเข้ามามีอิทธิพลในจีนและได้ส่งกำลังทหาร อาวุธที่ทันสมัยและมิชชันนารีเข้าไปเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เนื่องจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดการรวมกลุ่มของชาวจีนผู้รักชาติเรียกว่า "กบฏนักมวย" ขึ้น นักมวยจะฝึกกังฟูซึ่งพวกเขาเชื่อว่าจะสามารถต่อกรกับผู้รุกรานจาก ยุโรป อเมริกาและญี่ปุ่นได้ กบฏนักมวยได้ทำการลอบสังหารมิชชันนารีชาวตะวันตก ประณามชาวต่างชาติ และเผาโบสถ์ ฯลฯ กบฏนักมวยได้รับการสนับสนุนจากซูสีไทเฮามาก ทั้งด้านการส่งทัพหลวงมาช่วยและเสริมอาวุธยุทธโธปกรณ์ต่างๆ ซึ่งหลังจากกลุ่มกบฏนักมวยถูกปราบได้ไม่นานก็เกิดการโค่นล้มราชวงศ์ชิงขึ้น.

กบฏนักมวยและราชวงศ์ชิง · กบฏนักมวยและหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

ยฺเหวียน ชื่อไข่

ยฺเหวียน ชื่อไข่ (16 กันยายน พ.ศ. 2402 – 6 มิถุนายน พ.ศ. 2459) เป็นประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน ผู้โค่นล้มราชวงศ์ชิงได้สำเร็จ โดยได้อาศัยความได้เปรียบจากการคุมกองทัพเป่ยหยาง ซึ่งเป็นปัจจัยทั้งการอยู่รอดของราชวงศ์ชิงและการก่อตั้งสาธารณรัฐ ถ้ายฺเหวียนเลือกข้างฝ่ายไหน ฝ่ายนั้นก็ได้รับชัยชนะไป กองทัพของซุนยัคเซนเองก็ใช่ว่าจะสามารถต่อต้านทัพเป่ยหยางที่มีอาวุธที่ทันสมัยกว่าได้ หลังจากได้เข้าเจรจาทั้งฝ่ายปฏิวัติและฝ่ายต้าชิงแล้ว ยฺเหวียนได้บีบให้หลงหยู่ไทเฮาประกาศให้ฮ่องเต้ปูยีสละราชสมบัติ ซุน ยัตเซนจึงลาออกจากประธานาธิบดีชั่วคราว และยกตำแหน่งนี้ให้ยฺเหวียนดำรงตำแหน่ง ภายหลังยฺเหวียนสถาปนาตนเองเป็น "จักรพรรดิหงเซียน" ปกครองจักรวรรดิจีนแต่ไม่ได้รับการยอมรับ จึงล้มเลิกจักรวรรดิและกลับมาปกครองแบบสาธารณรัฐเช่นเดิม หมวดหมู่:ประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน หมวดหมู่:จักรพรรดิจีน ซ.

ยฺเหวียน ชื่อไข่และราชวงศ์ชิง · ยฺเหวียน ชื่อไข่และหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ชิง

ราชวงศ์ชิง (พ.ศ. 2187 - 2455)(ภาษาแมนจู: 16px daicing gurun; ภาษาจีน:清朝; พินอิน: qīng cháo ชิงเฉา) หรือบางครั้งเรียกว่า ราชวงศ์แมนจู ปกครองแผ่นดินจีนต่อจากราชวงศ์หมิง และถือเป็นราชวงศ์สุดท้ายของประเทศจีน ตั้งแต..

ราชวงศ์ชิงและราชวงศ์ชิง · ราชวงศ์ชิงและหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง

งครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) หรือ สงครามญี่ปุ่น-ชิง หรือ สงครามเจี่ยอู่ (甲午戰爭) เป็นสงครามระหว่างจักรวรรดิชิงกับจักรวรรดิญี่ปุ่นเพื่อครอบครองคาบสมุทรเกาหลี สงครามนี้เป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความอ่อนแอของราชวงศ์ชิง และการประสบผลสำเร็จของญี่ปุ่นที่พัฒนาชาติให้ทันสมัยตามแบบชาติตะวันตกซึ่งเริ่มมาตั้งแต่จักรพรรดิเมจิขึ้นครองราชย์ ส่งผลให้อิทธิพลของราชวงศ์ชิงเสื่อมถอยลงจนนำไปสู่การปฏิวัติในปี..

ราชวงศ์ชิงและสงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง · สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่งและหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิผู่อี๋

มเด็จพระจักรพรรดิผู่อี๋ พระราชสมภพ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449 มีพระนามเต็มว่า หรือ เฮนรี่ ผู่อี๋ (พระนามอังกฤษที่เรจินัล จอนสตันถวายให้) เป็นจักรพรรดิหรือฮ่องเต้ชาวแมนจูแห่งราชวงศ์ชิง และเป็นจักรพรรดิองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์ชิง (นับเริ่มแต่จักรพรรดิซุ่นจื้อ) และเป็นองค์สุดท้าย (末代皇帝) ของประเทศจีนมีพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระจักรพรรดิเซวียนถ่ง จากปี..

จักรพรรดิผู่อี๋และราชวงศ์ชิง · จักรพรรดิผู่อี๋และหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

คัง โหย่วเหวย์

ัง โหย่วเหวย์ (Kang Youwei, จีนตัวเต็ม: 康有为, จีนตัวย่อ: 康有為, พินอิน: Kāng Yǒuwéi) นักคิด, นักเขียน และนักปฏิรูปคนสำคัญชาวจีนในช่วงปลายราชวงศ์ชิง.

คัง โหย่วเหวย์และราชวงศ์ชิง · คัง โหย่วเหวย์และหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

ซูสีไทเฮา

ฉือสี่ไท่โฮ่ว ตามภาษาจีนมาตรฐาน หรือ ซูสีไทเฮา ตามภาษาจีนฮกเกี้ยน (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1835 – 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1908) เป็นสตรีชาวแมนจูจากตระกูลเย่เฮ่อน่าลา (葉赫那拉氏) ดำรงตำแหน่งไท่โฮ่ว (พระราชชนนีพันปีหลวง) และสำเร็จราชการแทนจักรพรรดิจีนหลายพระองค์ในช่วงปลายราชวงศ์ชิง พระนางจึงควบคุมการปกครองจักรวรรดิจีนโดยพฤตินัยเป็นเวลา 47 ปีตั้งแต..

ซูสีไทเฮาและราชวงศ์ชิง · ซูสีไทเฮาและหรงลู่ · ดูเพิ่มเติม »

แปดกองธง

แปดกองธง (จีน: 八旗, พินอิน: baqí) เป็นกองกำลังทหารในยุคราชวงศ์ชิงในประวัติศาสตร์จีน เป็นการจัดการบริหารและวางกองกำลังต่อสู้ของราชวงศ์ชิง โดยผู้ที่สถาปนากองทัพนี้ คือ จักรพรรดินู่เอ๋อร์ฮาชื่อ (ค.ศ. 1559-ค.ศ. 1629) ปฐมจักรพรรดิของราชวงศ์ โดยมีสัญลักษณ์เป็นธงที่มีสีสันต่าง ๆ แตกต่างออกไป และเป็นกำลังสำคัญในการป้องกันเมืองหลวง คือ ปักกิ่ง ซึ่งการจัดกำลังออกเป็น 8 ส่วนนี้ จะใช้ผู้คุมกำลังเป็นผู้ที่สัมพันธ์หรือเป็นญาติกันในตระกูลอ้ายซินเจว๋หลัว ซึ่งเป็นตระกูลของจักรพรรดิและพระญาติวงศ์ในราชวงศ์ชิง ซึ่งผู้ที่เคยเป็นผู้บังคับบัญชาแปดกองธงนี้บุคคลหนึ่ง ก็คือ อาปาไห่ หรือต่อมาก็คือ จักรพรรดิหวงไถจี๋ (ค.ศ. 1592-ค.ศ. 1643) ซึ่งเป็นราชบุตรลำดับที่ 8 และได้ครองราชย์ในเวลาต่อมา โดยเริ่มจากหัวหน้าชนเผ่าแมนจูต่าง ๆ ที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อเคยปราบมา ก่อนจะรวบรวมชาวแมนจูเป็นหนึ่งเดียวโค่นราชวงศ์หมิงได้สำเร็จ มีการเก็บภาษีและการระดมพลก็ระดมผ่านกองธงต่าง ๆ ไล่มาจากหัวหน้าหน่วยบริหารระดับล่างขึ้นมาข้างบน ซึ่งกระบวนการนี้ช่วยลดความแตกต่างของชนเผ่าและตระกูลนอกด่านทั้งหลายไปได้มาก นั่นทำให้นายทหารผู้บังคับหมวด นายทหารผู้บังคับกอง นายทหารคุมกองพัน และระดับแม่ทัพ จะต้องทำหน้าที่เป็นทั้งผู้บริหารและทหารไปพร้อม ๆ กัน แต่ทั้งหมดอยู่ภายใต้กฎหมายเดียวกันกับที่นู๋เอ๋อร์ฮาชื้อตราขึ้นมา และยังส่งผลต่อความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวมองโกล รวมถึงชาวฮั่นที่อยู่ในแถบตะวันออกด้วย ซึ่งถือได้ว่าทั้ง 3 ชนเผ่ามีส่วนร่วมในการก่อตั้งกองทัพแปดกองธงขึ้นมา จนสามารถแบ่งได้ถึง 24 กองธง เฉลี่ยกองธงละ 7,500 คน.

ราชวงศ์ชิงและแปดกองธง · หรงลู่และแปดกองธง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ราชวงศ์ชิงและหรงลู่

ราชวงศ์ชิง มี 210 ความสัมพันธ์ขณะที่ หรงลู่ มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 8, ดัชนี Jaccard คือ 3.60% = 8 / (210 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ราชวงศ์ชิงและหรงลู่ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »