โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น vs. แม่หญิง

;3 ครั้ง. ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ยุรนันท์ และ และ สิเรียม ละครโทรทัศน์เรื่อง แม่หญิง ที่รับบทโดย ศรราม และ วรนุช แม่หญิง เป็นนวนิยายแนวพีเรียดที่เขียนขึ้นโดย วราภา และได้นำมาถ่ายทำเป็น ละครโทรทัศน์ ปัจจุบัน ออกอากาศทาง ช่อง 7 สี ผลิตโดยบริษัท คำพอดี บริษัทในเครือบริษัท เวิร์คพอยท์ เอนเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.30 - 22.30 น. ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2552 โดยเป็นความรักแบบสามเส้าและความรักต่างชนชั้นระหว่าง ท่านหญิงอุณาโลมเชื้อพระวงศ์ผู้สูงศักดิ์,เอื้ออิศรา ชายหนุ่มนักร้องนักดนตรีซึ่งกำลังมีชื่อเสียงแต่ยากจนและเป็นคนรักของท่านหญิงและพราหมณ์ เจ้าของหนังสือพิมพ์ที่ขายดีที่สุดฉบับหนึ่งในเมืองไทยเป็นเพื่อนสนิทของเอื้อแต่ไม่ถูกชะตากับท่านหญิงตั้งแต่แรกเห็น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีชไมพร จตุรภุชสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์สุภาภรณ์ คำนวณศิลป์สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7อำภา ภูษิตดวงดาว จารุจินดาประเทศไทยเยาวเรศ นิสากร

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ชไมพร จตุรภุช

มพร จตุรภุช เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มจากเข้าประกวดนางสาวไทยเมื่อปี..

ชไมพร จตุรภุชและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ชไมพร จตุรภุชและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์

ร.สิภาภัสส์ ภักดีดำรงฤทธิ์ หรือชื่อในวงการบันเทิงว่า สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ (ชื่อเล่น: แอน; ชื่อเดิม: วิริญจน์ กิ๊บสัน; เกิด: 14 ตุลาคม พ.ศ. 2514) เป็นนักแสดง, นางแบบ และพิธีกรหญิงชาวไท.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์ · สิเรียม ภักดีดำรงฤทธิ์และแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

สุภาภรณ์ คำนวณศิลป์

กัญกร คำนวณศิลป์ หรือ สุปรีย์ฎา คำนวณศิลป์ หรือชื่อเดิม สุภาภรณ์ คำนวณศิลป์ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2515 เป็นนักแสดงชาวไทยเชื้อสายจีน มีพี่น้องทั้งหมด 7 คน เป็นคนที่ 4 จบการศึกษาที่โรงเรียนเซนต์โยเซฟบางนา ได้แสดงละครตั้งแต่ยังเด็ก ๆ เรื่องแรกปี..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสุภาภรณ์ คำนวณศิลป์ · สุภาภรณ์ คำนวณศิลป์และแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7และแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

อำภา ภูษิต

อำภา ภูษิต (เกิด 11 เมษายน พ.ศ. 2502) ชื่อเกิด อำภา ภูษิตสวัสดิ์ ชื่อเล่น แอ๊ว เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย มีชื่อเสียงจากภาพยนตร์เรื่อง ฟ้าหลังฝน (พ.ศ. 2521) และเป็นนางเอกภาพยนตร์ต่อมาอีกหลายเรื่อง ปัจจุบันยังรับงานแสดงละครโทรทัศน.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอำภา ภูษิต · อำภา ภูษิตและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ดวงดาว จารุจินดา

ฟ้ามีตา) ดวงดาว จารุจินดา เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 เป็นนักแสดงและนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ดวงดาวเป็นบุตรสาวของสักกะ จารุจินดา ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากการเป็นนักแสดง พากย์ภาพยนตร์ครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง “เข็ดจริงๆให้ดิ้นตาย” ซึ่งให้เสียงพากย์เป็นขอใจ ฤทัยประชา พออายุได้ 21 ปีจึงหันมาพากย์หนังอย่างจริงจัง และรับหน้าที่พากย์เสียงให้นักแสดงชื่อดังของไทยหลายท่าน เช่น จารุณี สุขสวัสดิ์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ จินตหรา สุขพัฒน์ และได้รับรางวัลจากการพากย์เสียงจากรางวัลพระสุรัสวดี นักพากย์ยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์เรื่องรักพยาบาท โดยพากย์เป็นเสียงของคุณเพ็ญพักตร์ ศิริกุล คุณดวงดาว พากย์ซีรีส์เกาหลีทุกเรื่อง บางเรื่อง พากย์ นางเอก นางรอง นางร้าย คุณย่าของพระเอก โดยมีการพากย์ที่โดดเด่นที่สุด คือการพากย์เสียงของ เอเย่นต์ดานา สกัลลีย์ ที่เล่นโดย จิลเลียน แอนเดอร์สัน ในซีรีส์ชุด The X-Files ที่ฉายทางช่อง 7 ด้านงานบันเทิง เคยได้รับบทเป็นนางเอกจากหนังเรื่องแรกของเธอ ที่พ่อเธอเป็นผู้สร้าง คือเรื่อง 'มนต์รักชาวไร่' แต่หนังไม่ประสบความสำเร็จ หลังจากนั้นจึงกลายเป็นรับบทรองจนถึงนางร้ายมาตลอด ก่อนจะมาลงเล่นละครทีวี ช่วงแรกยังไม่สังกัด ก็จะเห็นผลงานเธอทางช่อง 3, 5, 9 ในบทนางร้าย เช่น นางทาส ช่อง 3 ที่เธอรับบทเป็น 'สาลี่' โดยมี อี๊ด-รัชนู บุญชูดวง เป็นนางเอก ต่อมาช่อง 7 ชวนไปพากย์หนังชุด จึงเป็นที่มาของการพบกันของเธอกับ หน่อง-พลากร สมสุวรรณ จึงเกิดสัญญาใจในการเล่นละครให้ช่อง 7 ตั้งแต่ปี 2530 จนปัจจุบันก็ยังเห็นหน้าเธอทางจอเจ็ดสีอยู่สม่ำเสมอ นับผลงานละครที่เธอร่วมงานกับช่อง 7 ได้ประมาณกว่า 80 เรื่อง.

ดวงดาว จารุจินดาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ดวงดาว จารุจินดาและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ประเทศไทยและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและเยาวเรศ นิสากร · เยาวเรศ นิสากรและแม่หญิง · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น มี 198 ความสัมพันธ์ขณะที่ แม่หญิง มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 3.72% = 9 / (198 + 44)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและแม่หญิง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »