โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น vs. อีสา

;3 ครั้ง. อีสา และ รวีช่วงโชติ เป็นนวนิยายชิ้นเอกของ สีฟ้า หรือ หม่อมหลวงศรีฟ้า มหาวรรณ ที่บรรจงถ่ายทอดเหตุการณ์ของยุคสมัยช่วงเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านชีวิตความเป็นอยู่ และเหตุการณ์ของบ้านเมืองได้อย่างสมจริง โดยมีฉากชีวิตของอีสานำพาบอกกล่าวเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง นำมาสร้างเป็นละครครั้งแรกทางช่อง 4 บางขุนพรหม ผู้รับบทอีสาคนแรกคือ เมตตา รุ่งรัตน์ ครั้งที่ 2 ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา มี 18 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรเจิดศรี ยมาภัยช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีกาญจนา จินดาวัฒน์รชนีกร พันธุ์มณีรัญญา ศิยานนท์ศิริพร วงศ์สวัสดิ์สกาวใจ พูนสวัสดิ์สินจัย เปล่งพานิชสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7อริศรา วงษ์ชาลีธนาภรณ์ จิตต์จำรึกณัฐนี สิทธิสมานดวงดาว จารุจินดาประเทศไทยโฉมฉาย ฉัตรวิไลเยาวเรศ นิสากรเดือนเต็ม สาลิตุล

บรรเจิดศรี ยมาภัย

รรเจิดศรี ยมาภัย เกิดเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2468 เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นญาติกับมนฤดี ยมาภัย นักแสดง และเป็นมารดาของ อ.ศัลยา สุขะนิวัต นักเขียนบทละครชื่อดัง โดยบรรเจิดศรีเข้าสู่วงการแสดงเมื่ออายุราว 50 ปี มีผลงานการแสดงละครเรื่องแรก ๆ อย่าง ปู่โสมเฝ้าทรัพย์ ยังแสดงในละครอย่าง เคหาสน์สีแดง ปี 32 ละคร คู่กรรม (ยายอังศุมาลิน) ปี 33 ละคร หลงเงาจันทร์ และละคร ดาวพระศุกร์ นอกจากนี้ในปี 2537 ยังแสดงภาพยนตร์เรื่อง อำแดงเหมือนกับนายริด และทำให้ได้รับรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 5 ประจำปี 2537 ในสาขาผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากการแสดงภาพยนตร์เรื่องนี้.

บรรเจิดศรี ยมาภัยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · บรรเจิดศรี ยมาภัยและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

กาญจนา จินดาวัฒน์

กาญจนา จินดาวัฒน์ มีชื่อเล่นว่า อ้อย เกิดวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2501 เป็นนักแสดงที่ปัจจุบันปรากฏผลงานทางช่อง 3 และช่อง 5.

กาญจนา จินดาวัฒน์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · กาญจนา จินดาวัฒน์และอีสา · ดูเพิ่มเติม »

รชนีกร พันธุ์มณี

รชนีกร พันธุ์มณี เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นนักแสดงชาวไทย เป็นมิสทีนไทยแลนด์ปี 1991 เป็นชาวกรุงเทพฯ ศึกษาจบจากวิทยาลัยครูสวนสุนันทา ปัจจุบันเป็น มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มีผลงานแสดงละครที่เป็นที่รู้จักจากเรื่อง พี่เลี้ยง ในบทของ "เรไร" ตัวละครเอก, กระสือ และ ราชินีลูกทุ่ง พุ่มพวง ดวงจันทร์ หลังจากนั้นเธอมีผลงานละครอีกหลายเรื่อง จนหายไปจากวงการเพราะแต่งงานกับสามีชาวต่างประเทศแล้วย้ายไปอยู่ที่สหรัฐอเมริกา ต่อมาในปี..

รชนีกร พันธุ์มณีและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · รชนีกร พันธุ์มณีและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

รัญญา ศิยานนท์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · รัญญา ศิยานนท์และอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ศิริพร วงศ์สวัสดิ์

ริพร วงศ์สวัสดิ์ เป็นนักแสดง นักร้อง นักพากย์ พิธีกร และนักธุรกิจชาวไทย มีธุรกิจส่วนตัว คือ ร้านอาหาร และเครื่องสำอางสมุนไพร เสียชีวิตเมื่อเวลาเที่ยงของวันที่ 17 มกราคม..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและศิริพร วงศ์สวัสดิ์ · ศิริพร วงศ์สวัสดิ์และอีสา · ดูเพิ่มเติม »

สกาวใจ พูนสวัสดิ์

กาวใจ พูนสวัสดิ์ เป็นนักแสดง พิธีกรชาวไท.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสกาวใจ พูนสวัสดิ์ · สกาวใจ พูนสวัสดิ์และอีสา · ดูเพิ่มเติม »

สินจัย เปล่งพานิช

นจัย เปล่งพานิช (นก) นามสกุลเดิม หงษ์ไทย เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2508 เป็นนักแสดงที่มีผลงานการแสดงภาพยนตร์และละครมากมาย ทั้งยังเคยออกผลงานอัลบั้มเพลงชุด ทอฝัน (2533) กับค่ายจีเอ็มเอ็ม แกรมมี.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสินจัย เปล่งพานิช · สินจัย เปล่งพานิชและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก

นีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (Royal Thai Army Radio and Television; ชื่อย่อ: ททบ.) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) ของกองทัพบกไทย และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่สองของประเทศไทย เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 25 มกราคม..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก · สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7

นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7และอีสา · ดูเพิ่มเติม »

อริศรา วงษ์ชาลี

อริศรา วงษ์ชาลี ชื่อเล่น เฟรช เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เข้าสู่วงการด้วยการถ่ายแบบและถ่ายโฆษณา และเริ่มต้นการแสดงจากการเป็นตัวประกอบในละครโทรทัศน์ต่าง ๆ จนกระทั่งมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักจากภาพยนตร์ เรื่อง 1+1 เป็นสูญ ในปี พ.ศ. 2545 จากการกำกับของ แดนนี่ แปง ซึ่งเธอทำได้ดีในบทเซ็กซี่ ทำให้ได้รับรางวัลสุพรรณหงส์และรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง สาขานักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมจากนั้นก็ได้มีโอกาสแสดงในผลงานเรื่องต่าง ๆ อาทิ ลอดลายมังกร, เก็บแผ่นดิน, นางฟ้าไร้ปีก, รักแปดพันเก้า, รอยอดีตแห่งรัก, เมล์นรก หมวยยกล้อ, มาลัยสามชาย, ดอกโศก จบการศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ นอกจากการแสดงแล้ว ยังมีกิจการของตัวเอง คือการขายน้ำมะพร้าวและรองเท้า และยังเป็นพิธีกรรายการ ไทยมุง และอีกหลายรายการทางไทยพีบีเอ.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอริศรา วงษ์ชาลี · อริศรา วงษ์ชาลีและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ธนาภรณ์ จิตต์จำรึก

ละคร ตะวันชิงพลบ (2534) ธนาภรณ์ จิตต์จำรึก (นามสกุลเดิม รัตนเสน) หรือชื่อเล่น ลูกศร เกิดเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2511 เป็นนักแสดง นักร้องชาวไทย อดีตนักบัลเล่ต์ มีผลงานแสดงละครที่โด่งดังหลายเรื่องอย่างเช่น ปัญญาชนก้นครัว ตะวันชิงพลบ เคหาสน์สีแดง สีวิกา บัวแล้งน้ำ เกมเกียรติยศ เป็นต้น และยังมีผลงานเพลงกับอัลบั้มชุด ลูกศรลมกรด กับเพลงดัง "ระเบิดทิ้ง" "ล้นมาจากตา" และ "ฝากไว้ที่เธอ" ด้านการศึกษา จบการศึกษาจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทสาขาการจัดการที่มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ลูกศรเข้าสู่วงการตั้งแต่อายุ 16 ปี โดยเป็นแดนเซอร์ให้กับรายการเพลง เธอเริ่มเล่นละครตั้งแต่เรียนอยู่ระดับชั้นมัธยมปลาย โดยเล่นละครทางช่อง 7 สีเรื่องแรกกับค่ายกันตนา แสดงเป็นนางเอก คู่กับอภิชาติ หาลำเจียก แต่ไม่ได้ออกอากาศ จากนั้นย้ายมาร่วมงานกับค่ายดาราวิดีโอ โดยแสดงเป็นตัวรองในละครเรื่อง อีสา ร่วมกับอภิรดี ภวภูตานนท์ ซึ่งจากละครเรื่องนี้ทำให้ได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 3 ประจำปี..

ธนาภรณ์ จิตต์จำรึกและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ธนาภรณ์ จิตต์จำรึกและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐนี สิทธิสมาน

ณัฐนี สิทธิสมาน นักแสดงอาวุโสหญิงชาวไทย เจ้าของฉายา เจ้าแม่ผีปอบ มีผลงานเป็นที่รู้จักในบท ปอบหยิบ จากภาพยนตร์เรื่อง บ้านผีปอบ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ ซีรี่ยส์ภาพยนตร์เรื่องบ้านผีปอ.

ณัฐนี สิทธิสมานและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ณัฐนี สิทธิสมานและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ดวงดาว จารุจินดา

ฟ้ามีตา) ดวงดาว จารุจินดา เกิดเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2494 เป็นนักแสดงและนักพากย์ที่มีชื่อเสียง ดวงดาวเป็นบุตรสาวของสักกะ จารุจินดา ผู้กำกับภาพยนตร์ชื่อดัง เข้าสู่วงการบันเทิงตั้งแต่อายุ 5 ขวบจากการเป็นนักแสดง พากย์ภาพยนตร์ครั้งแรกจากภาพยนตร์เรื่อง “เข็ดจริงๆให้ดิ้นตาย” ซึ่งให้เสียงพากย์เป็นขอใจ ฤทัยประชา พออายุได้ 21 ปีจึงหันมาพากย์หนังอย่างจริงจัง และรับหน้าที่พากย์เสียงให้นักแสดงชื่อดังของไทยหลายท่าน เช่น จารุณี สุขสวัสดิ์ เนาวรัตน์ ยุกตะนันท์ จินตหรา สุขพัฒน์ และได้รับรางวัลจากการพากย์เสียงจากรางวัลพระสุรัสวดี นักพากย์ยอดเยี่ยม กับภาพยนตร์เรื่องรักพยาบาท โดยพากย์เป็นเสียงของคุณเพ็ญพักตร์ ศิริกุล คุณดวงดาว พากย์ซีรีส์เกาหลีทุกเรื่อง บางเรื่อง พากย์ นางเอก นางรอง นางร้าย คุณย่าของพระเอก โดยมีการพากย์ที่โดดเด่นที่สุด คือการพากย์เสียงของ เอเย่นต์ดานา สกัลลีย์ ที่เล่นโดย จิลเลียน แอนเดอร์สัน ในซีรีส์ชุด The X-Files ที่ฉายทางช่อง 7 ด้านงานบันเทิง เคยได้รับบทเป็นนางเอกจากหนังเรื่องแรกของเธอ ที่พ่อเธอเป็นผู้สร้าง คือเรื่อง 'มนต์รักชาวไร่' แต่หนังไม่ประสบความสำเร็จ หลังจากนั้นจึงกลายเป็นรับบทรองจนถึงนางร้ายมาตลอด ก่อนจะมาลงเล่นละครทีวี ช่วงแรกยังไม่สังกัด ก็จะเห็นผลงานเธอทางช่อง 3, 5, 9 ในบทนางร้าย เช่น นางทาส ช่อง 3 ที่เธอรับบทเป็น 'สาลี่' โดยมี อี๊ด-รัชนู บุญชูดวง เป็นนางเอก ต่อมาช่อง 7 ชวนไปพากย์หนังชุด จึงเป็นที่มาของการพบกันของเธอกับ หน่อง-พลากร สมสุวรรณ จึงเกิดสัญญาใจในการเล่นละครให้ช่อง 7 ตั้งแต่ปี 2530 จนปัจจุบันก็ยังเห็นหน้าเธอทางจอเจ็ดสีอยู่สม่ำเสมอ นับผลงานละครที่เธอร่วมงานกับช่อง 7 ได้ประมาณกว่า 80 เรื่อง.

ดวงดาว จารุจินดาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ดวงดาว จารุจินดาและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · ประเทศไทยและอีสา · ดูเพิ่มเติม »

โฉมฉาย ฉัตรวิไล

ฉมฉาย ฉัตรวิไล หรือชื่อจริงว่า วัลชุลี ฉัตรวิไล และชื่อเล่นว่า แอ๊ด (เกิด 13 พฤศจิกายน 2493 เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย โฉมฉายเข้าสู่วงการบันเทิงครั้งแรกเมื่ออายุได้เพียง 6 ขวบ เป็นนักร้องอยู่ที่คณะดนตรีของจำรัส วิภาตะวัต กระทั่งปี 2508 ชนะเลิศการประกวดร้องเพลงในรายการของรัก รักพงษ์ จึงเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นมา ใช้ชื่อในการแสดงว่า "อัญชุลี ฉัตรวิไล" และได้แสดงละครเวที ละครโทรทัศน์ทางช่อง 4 บางขุนพรหม และละครวิทยุ (คณะแก้วฟ้า) ต่อมาได้แสดงภาพยนตร์หลายต่อหลายเรื่องจนถึงปัจจุบัน ปัจจุบัน ยังมีผลงานในวงการบันเทิง ทั้งละครเวที เป็นต้นว่า เรื่อง ทวิภพ และบัลลังก์เมฆ ตลอดจนละครโทรทัศน์ บทบาทที่โดดเด่นล่าสุด คือ มารดาของลูก ๆ สามคนในซิตคอมของซีเนริโอเรื่อง บ้านนี้มีรัก นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2555 พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีมอบรางวัลราชบัณฑิตยสถานสรรเสริญ ประจำปี 2554 ให้แก่โฉมฉายในฐานะ ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่นด้วย ชีวิตส่วนตัว ชื่นชอบ เคิร์ต รัสเซลล์ นักแสดงชายฮอลลีวูด และมีบุตรหนึ่งคนชื่อ พนิตนาฏ ฉัตรวิไล เป็นบรรณาธิการข่าวบันเทิงของสถานีโทรทัศน์ช่องวัน.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและโฉมฉาย ฉัตรวิไล · อีสาและโฉมฉาย ฉัตรวิไล · ดูเพิ่มเติม »

เยาวเรศ นิสากร

วเรศ นิศากร (มักเขียนเป็น นิสากร) เป็นนักแสดงชาวไทย เจ้าของฉายา "เพชรา 2 " ในอดีต (เนื่องจากมีส่วนคล้ายนางเอก เพชรา เชาวราษฎร์) เจ้าของรางวัลเมขลา (มัสยา,แหวนทองเหลือง และ อีสา) และ เคยได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลโทรทัศน์ทองคำ (ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2529).

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและเยาวเรศ นิสากร · อีสาและเยาวเรศ นิสากร · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็ม สาลิตุล

ือนเต็ม สาลิตุล หรือ 'ตุ๊ก' นักแสดงหญิงเจ้าบทบาท ที่มีผลงานทั้งทางละครทีวีและภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อแรกเข้าวงการใช้ชื่อในการแสดงว่า เดือนเต็ม เผ่าทองสุข เข้าสู่วงการครั้งแรก จากการชักชวนของ อารีย์ นักดนตรี เมื่อปี..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและเดือนเต็ม สาลิตุล · อีสาและเดือนเต็ม สาลิตุล · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น มี 198 ความสัมพันธ์ขณะที่ อีสา มี 110 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 18, ดัชนี Jaccard คือ 5.84% = 18 / (198 + 110)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอีสา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »