โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น vs. สิริยากร พุกกะเวส

;3 ครั้ง. ริยากร พุกกะเวส (ชื่อเล่น: อุ้ม) เกิดเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2517 ที่จังหวัดสมุทรปราการ ศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนอนุบาลสุวิชชา ระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนศรีวิทยา ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสายน้ำผึ้ง และจบการศึกษาระดับอุดมศึกษาจากคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกด้านโฆษณา ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 2 เข้าสู่วงการบันเทิงโดยการชักนำของคุณมยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช มีผลงานชิ้นแรกคือโฆษณา แชมพูรีจอยส์ ต่อมาในปี 2538 เป็นที่รู้จักในละครโทรทัศน์เรื่องแรกคือเรื่อง "สามใบไม่เถา" ต่อมาในปี 2541 ทำธุรกิจร้านอาหาร “Take / A / Seat” สุขุมวิท 19 จนถึงปี 2544 และในปีเดียวกับทำรายการ บ้านอุ้มใน เนชั่น แชนแนล ส่วนทางด้านงานเขียน มีคอลัมน์ "แหงนหน้าเล่า" ในนิตยสารแพรว กับงานแปลเรื่องแรก "หญิงสาวกับต่างหูมุก" ของสำนักพิมพ์อิมเมจ และยังมีผลงานเขียนและงานแปลอีกหลายเล่ม ในปี 2546 มีรายออกหนังสือ พ็อกเกตบุ๊ก ชื่อ "บ้านอุ้ม vol.1 ฉบับขึ้นบ้านใหม่" ที่มีเนื้อหานำมาจากรายการ บ้านอุ้ม นอกจากนี้แล้วในปี 2551 ได้ช่วยหาเสียงให้กับ ดร.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชร่มฉัตรลูกทาสสี่แผ่นดินอาญารัก

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช (อหะหมัดจุฬา) เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2492 ศึกษา จบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 3 ที่โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ และศึกษาต่อด้านเลขานุการ ที่ประเทศนิวซีแลนด์ มีผลงานการแสดงภาพยนตร์ เคยได้รางวัลตุ๊กตาทอง ประเภทนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม ในภาพยนตร์เรื่อง “ป่ากามเทพ” มีผลงานการแสดงละครโทรทัศน์ทางช่อง 3 ปัจจุบันเป็นผู้จัดละคร และการแต่งบทละคร หลายเรื่อง เธอมีบุตรสองคน คนหนึ่งเป็นหญิงชื่อ ยศสินี ณ นคร จากการสมรสครั้งแรกกับโยธิน ณ นคร อีกคนเป็นชายชื่อ ณัฐพงศ์ อหะหมัดจุฬา ที่เกิดกับนริศ อหะหมัดจุฬ.

มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น · มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวชและสิริยากร พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

ร่มฉัตร

ร่มฉัตร เป็นละครโทรทัศน์ แนวพีเรียดอิงประวัติศาสตร์เล่าถึงชีวิตของสตรีชื่อ แม้นวาด บนแผ่นดินสมัยรัชกาลที่ 5 - ปัจจุบัน จากบทประพันธ์อันทรงคุณค่าของ ทมยันตี หรือ วิมล เจียมเจริญ นวนิยายเรื่องนี้ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ 3 ครั้ง ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2522 ออกอากาศทาง ช่อง 9 นำแสดงโดย สมภพ เบญจาธิกุล, รัชนู บุญชูดวง, ดวงดาว จารุจินดา, สีดา พัวพิมล ครั้งสองในปี พ.ศ. 2538 ออกอากาศทาง ช่อง 3 ผลิตโดย บริษัท ฮูแอนด์ฮู จำกัด บทโทรทัศน์โดย ยิ่งยศ ปัญญา กำกับการแสดงโดย ชูศักดิ์ สุธีรธรรม นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, อภิชาติ พัวพิมล, สินิทรา บุญยศักดิ์, ขวัญฤดี กลมกล่อม, สิริยากร พุกกะเวส, สวิช เพชรวิเศษศิริ ออกอากาศทุกวันจันทร์ - อังคาร เวลา 20.20 - 22.20 เริ่ม 25 กันยายน 2538 - 12 ธันวาคม 2538 ครั้งที่สามในปี พ.ศ. 2560 ออกอากาศทางช่อง ทรูโฟร์ยู ผลิตโดย อรรถพร ธีมากร บทโทรทัศน์ กำกับการแสดงโดย อรรถพร ธีมากร นำแสดงโดย เขมนิจ จามิกรณ.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและร่มฉัตร · ร่มฉัตรและสิริยากร พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

ลูกทาส

ลูกทาส (2507) ลูกทาส เป็นวรรณกรรมอมตะอิงประวัติศาสตร์ เป็นผลงานที่โดดเด่นอีกชิ้นหนึ่งของ รพีพร (สุวัฒน์ วรดิลก) ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2506 ในหนังสือพิมพ์รายปักษ์ เดลิเมล์วันจันทร์ เล่าถึงชีวิตลูกทาสที่ดิ้นรนต่อสู้จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และ ได้ครองคู่กับหญิงสาวสูงศักดิ์ที่หมายปอง ลูกทาส ถูกนำไปสร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งแรกในปี..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและลูกทาส · ลูกทาสและสิริยากร พุกกะเวส · ดูเพิ่มเติม »

สี่แผ่นดิน

ี่แผ่นดิน เป็นวรรณกรรมของหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช มีเนื้อหาอิงประวัติศาสตร์ไทยในช่วงรัชกาลที่ 5 ถึงรัชกาลที่ 8 นับเป็นวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงมากที่สุดเล่มหนึ่งของไทย โดยเขียนเป็นตอน ๆ ลงหนังสือพิมพ์สยามรัฐ รายวันระหว่างปี 2494-2495 ติดต่อกันเป็นเวลาปีเศษ ต่อมาได้รวบรวมพิมพ์เป็นเล่มขึ้นครั้งแรกในปี 2496 หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชให้สัมภาษณ์กองบรรณาธิการนิตยสารถนนหนังสือ ฉบับวันที่ 1 กรกฎาคม 2528 เรื่องลักษณะของตัวละครว่า "แม่พลอยเป็นคนที่ไม่มีสิทธิของผู้หญิงเลย ไม่เคยเรียก ไม่เคยร้อง แล้วแม่พลอยนี่เป็นคนที่เชยที่สุด คุณจะว่านางเอกก็นางเอก แต่เป็นคนเชยที่สุด แม่พลอยถ้าแกอยู่มาจนถึงทุกวันนี้ แกก็ลูกเสือชาวบ้าน แกจะไปรำละครบ้าๆ บอๆ ถึงขนาดนั้น" และ "แม่พลอยเป็นคนเชยมากนะครับ เป็นคนอยู่ในกรอบ ใจดี ถูกจับคลุมถุงชนแต่งงานก็หลงรักคุณเปรมได้ ตามคติโบราณนั้นไม่เป็นไรหรอก แต่งไปก่อนแล้วรักกันเองทีหลัง แม่พลอยเป็นอย่างนั้นทุกอย่าง ที่นี้คนอ่านคนไทย ปลื้มอกปลื้มใจ เห็นแม่พลอยเป็นคนประเสริฐเลิศลอย ก็เพราะคนไทยก็เป็นคนแบบนั้น ยังไม่ได้ไปถึงไหนเลย คนอ่านส่วนมากก็เป็นระดับแม่พลอย (หัวเราะ) โง่ฉิบหายเล..จะบอกให้..สี่แผ่นดินถึงได้ดัง (หัวเราะ)".

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสี่แผ่นดิน · สิริยากร พุกกะเวสและสี่แผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

อาญารัก

อาญารัก เป็นบทประพันธ์ของ จำลักษณ์ (สำเนาว์ หิริโอตัปปะ) เจ้าของบทประพันธ์เรื่อง "ไทรโศก" สร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์แล้วอีก 3 ครั้ง ครั้งแรก ในรูปแบบภาพยนตร์ นำแสดงโดย มิตร ชัยบัญชา รับบทเป็น ขุนภักดี ร่วมด้วย พงษ์ลดา พิมลพรรณ อมรา อัศวนนท์ พิศมัย วิไลศักดิ์ รับบทเป็น คุณเรียม-คุณสน-เนียน ตามลำดับ ออกฉายเมื่อปี 2510 ต่อมามาสร้างเป็นละครออกอากาศทางช่อง 3 ถึง 2 ครั้ง ครั้งแรกในปี 2526 ผู้แสดงเป็น นาท ภูวนัย สุคนธ์ทิพย์ เสนะวงศ์ อุทุมพร ศิลาพันธ์ ดวงใจ หทัยกาญจน์ และครั้งที่ 2 ในปี 2543 ผู้แสดงเป็น ฉัตรชัย เปล่งพานิช จินตหรา สุขพัฒน์ จริยา แอนโฟเน่ กมลชนก โกมลฐิติ และครั้งที่ 3 ออกอากาศทางช่อง 7 ในปี 2556 ผู้แสดงคือ อานัส ฬาพานิช นุสบา วานิชอังกูร มรกต กิตติสาระ จีรนันท์ มะโนแจ่ม มีเพลงนำชื่อเดียวกับเรื่อง แต่ต่างเนื้อร้องและผู้แต่งคนละคนกัน (มีเพียงภาพยนตร์และละครครั้งแรกที่ใช้เพลงเดียวกัน) เฉพาะละครโทรทัศน์ครั้งที่ 2 ถือว่าประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในช่วงนั้น ทำให้กมลชนก โกมลฐิติ ได้รับรางวัลเมขลา ประเภทผู้แสดงนำหญิงดีเด่น พร้อมกับจริยา แอนโฟเน่ ที่ได้รางวัลเมขลาเช่นกัน ประเภทผู้แสดงประกอบหญิงดีเด่น ในปีเดียวกัน.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและอาญารัก · สิริยากร พุกกะเวสและอาญารัก · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่น มี 198 ความสัมพันธ์ขณะที่ สิริยากร พุกกะเวส มี 32 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 2.17% = 5 / (198 + 32)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงสมทบหญิงดีเด่นและสิริยากร พุกกะเวส หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »