ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน มี 7 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พลรัตน์ รอดรักษาวิลลี่ แมคอินทอชศุกลวัฒน์ คณารศสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7อรรคพันธ์ นะมาตร์ดิลก ทองวัฒนาประเทศไทย
พลรัตน์ รอดรักษา
ลรัตน์ รอดรักษา หรือ ป๊อบ เป็นนักแสดงชายชาวไทย เริ่มเข้าสู่วงการบันเทิงจากการประกวดและได้รับรางวัลจากแบรนด์เสื้อผ้า เจฟ็อกซ์ จากนั้นจึงได้มาเป็นนายแบบลงหนังสือแพรว ก่อนจะเซ็นสัญญาเป็นนักแสดงในสังกัดช่อง 3 โดยการชักนำของ ศิริพงศ์ อรุณไพโรจน์ โดยจะรับบทน่าสงสารกับบทดีในช่วงแรก ๆ และจะรับบทร้ายส่วนใหญ่ในภายหลัง หลังจากมีผลงานละครออกมาหลายครั้งก็ได้ออกจากวงการในปี..
พลรัตน์ รอดรักษาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่น · พลรัตน์ รอดรักษาและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
วิลลี่ แมคอินทอช
วิลลี่ แมคอินทอช หรือ เริงฤทธิ์ แมคอินทอช เกิดเมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2513 ที่กรุงเทพฯ เป็นลูกครึ่ง ไทย-สก็อต และชาติจีน มีอาชีพนักแสดง นายแบบ, พิธีกร ปัจจุบันเป็นประธานบริษัท ลักษ์ 666 มีคุณพ่อชาวสก็อต ชื่อคุณวิลเลียม แมคอินทอชซึ่งเมื่อครั้งยังหนุ่มเป็นนักรบสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ประจำฝ่ายบิน เมื่อหมดสงคราม จึงไปสมัครเข้าสายการบินเอ.เอ.เอสของเดนมาร์ค การบินไทยเช่าเครื่องบินจากบริษัทนี้ และยังเป็นหุ้นส่วนกันด้วย ต่อมามิสเตอร์วิลเลี่ยม แมคอินทอชจึงถูกส่งตัวมาทำงานกับการบินไทย และได้เจอกับคุณแม่ของเขาคุณยุรภรณ์ มีน้องสาวเป็นนักแสดง พิธีกร คือ คัทลียา แมคอินทอช สมรสกับนางแบบชื่อดัง เยลหลี ริคอร์เดล มีผลงานชิ้นแรกคือ ธัญญา แม่มดยอดยุ่ง (คู่กับ หมิว ลลิตา) วิลลี่จบการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมิชชิแกน สหรัฐอเมริกา ด้านชีวิตส่วนตัว สมรสกับ เยลหลี ริคอร์เดล อดีตนางแบบและพิธีกรชื่อดัง มีบุตรคนแรกชื่อ ธาดาฤทธิ์ แมคอินทอช (วิน) เป็นบุตรชาย คลอดที่โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2554 เวลา 06.40 น.
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและวิลลี่ แมคอินทอช · วิลลี่ แมคอินทอชและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
ศุกลวัฒน์ คณารศ
กลวัฒน์ คณารศ ชื่อเล่น เวียร์ เกิดวันที่ 18 เมษายน..
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและศุกลวัฒน์ คณารศ · ศุกลวัฒน์ คณารศและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
นีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (Bangkok Broadcasting Television Channel 7) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดินซึ่งออกอากาศด้วยระบบภาพสีแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งที่ 3 ของประเทศไทย ดำเนินกิจการภายใต้สัญญาสัมปทานกับกองทัพบก เริ่มแพร่ภาพเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2510 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 9ราชกิจจานุเบกษา,, เล่ม 86 ตอน 10 ง หน้า 241, 4 กุมภาพัน..
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 · สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7และเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
อรรคพันธ์ นะมาตร์
อรรคพันธ์ นะมาตร์ (เกิด 28 มกราคม พ.ศ. 2528) ชื่อเล่น อ๋อม เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครเรื่อง พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ซึ่งยังทำให้เขาได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำในสาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นอีกด้วย อรรคพันธ์เป็นบุตรคนโตจากพี่น้องสองคน เขาจบศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนดาราคาม ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับปริญญาตรีที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเท.
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและอรรคพันธ์ นะมาตร์ · อรรคพันธ์ นะมาตร์และเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
ดิลก ทองวัฒนา
ลก ทองวัฒนา (เกิด 3 มิถุนายน พ.ศ. 2499) ชื่อเล่น หมู เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไทย เป็นบุตรของนายสมชัยและนางวัฒนา มีพี่น้อง 4 คน เป็นคนที่ 2 มีภูมิลำเนาอยู่ที่ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท จบการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเป็นศิษย์การแสดงของช่อง 3 รุ่นแรก เข้าสู่วงการโดยการชักนำของคุณวรายุฑ มิลินทจินดา แสดงละครเรื่อง นางทาส รับบทพระเอกเล่นคู่กับ นิภาพร นงนุช มีผลงานละครสร้างชื่อคือละครเรื่อง พฤกษาสวาท และยังเป็นพิธีกรให้รายการ เกมชิงหลัก ของเจเอสแอล เคยได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ในสาขาดาราสนับสนุนชายดีเด่นจากละคร 3 เรื่องคือ กามนิต-วาสิฏฐี (2529), ไฟล้างไฟ (2546) และ สวรรค์เบี่ยง (2551) ปัจจุบันเขาเป็นนักแสดงอิสระ ด้านชีวิตส่วนตัวนับถือศาสนาคริสต์ มีบุตร 2 คนจากภรรยาคนแรก คนโตเป็นผู้ชาย และคนเล็กเป็นผู้หญิง ปัจจุบันสมรสใหม่กับ เกรซ ชนินทร ทองวัฒน.
ดิลก ทองวัฒนาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่น · ดิลก ทองวัฒนาและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
ประเทศไทย
ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.
ประเทศไทยและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่น · ประเทศไทยและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน
การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่น มี 195 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน มี 44 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 7, ดัชนี Jaccard คือ 2.93% = 7 / (195 + 44)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำ สาขานักแสดงนำชายดีเด่นและเหนี่ยวหัวใจสุดไกปืน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: