โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ vs. ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ รางวัลโทรทัศน์ทองคำ เป็นรางวัลผลงานดีเด่นทางโทรทัศน์ ซึ่งจัดโดยชมรมส่งเสริมโทรทัศน์ เริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2529 โดยเป็นรางวัลสำหรับผลงานทางโทรทัศน์ที่มีอายุยาวนานที่สุด และยังมีการมอบรางวัลจวบจนถึงปัจจุบัน. รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 19 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงมยุรา เศวตศิลายุทธนา มุกดาสนิทศรัณยู วงษ์กระจ่างศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุลหัทยา วงษ์กระจ่างอรรคพันธ์ นะมาตร์อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณจีรนันท์ มะโนแจ่มธัญญาเรศ เองตระกูลณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ดาราวิดีโอปัญญา นิรันดร์กุลนพพล โกมารชุนนิรุตติ์ ศิริจรรยาแอน ทองประสมเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจง

งษ์พัฒน์ วชิรบรรจง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2504) ชื่อเล่น อ๊อฟ เป็นนักร้อง นักแสดง และผู้กำกับชาวไทย ทางด้านธุรกิจเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษัท แอค อาร์ต เจเนอเรชั่น จำกัด อ๊อฟจบปริญญาตรี พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโร.

พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · พงษ์พัฒน์ วชิรบรรจงและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

มยุรา เศวตศิลา

กุลนภา เศวตศิลา หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ มยุรา เศวตศิลา (ชื่อเกิด: รัตนา ชาตะธนะบุตร; 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2501) ก่อนหน้านี้เคยใช้ชื่อว่า มยุรา ธนะบุตร เป็นนักแสดงและพิธีกรชาวไท.

มยุรา เศวตศิลาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · มยุรา เศวตศิลาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนา มุกดาสนิท

ทธนา มุกดาสนิท (25 พฤษภาคม พ.ศ. 2495 -) ศิลปินแห่งชาติประจำปี..

ยุทธนา มุกดาสนิทและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ยุทธนา มุกดาสนิทและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รัณยู วงศ์กระจ่าง (ชื่อเล่น: ตั้ว) มีชื่อจริงว่า นรัณยู วงษ์กระจ่าง (เปลี่ยนมาจาก ศรัณยู วงศ์กระจ่าง) เกิดเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2503 ที่ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม ศรัณยู เป็นนักแสดง พิธีกร ผู้กำกับการแสดงละครและภาพยนตร์ที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งในวงการบันเทิงของไทย ก่อนจะเข้ามาในวงการบันเทิง ประกอบอาชีพเป็นสถาปนิกมาก่อน แต่เนื่องจากอาชีพสถาปนิกในเวลานั้น ยังไม่เป็นที่นิยมอย่างในปัจจุบัน ซึ่งศรัณยูได้ร่วมกิจการการแสดงโดยแสดงละครของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2522 เมื่อยังเป็นนักศึกษาอยู่แล้ว เมื่อจบออกมามีผลงานชิ้นแรกทางโทรทัศน์ โดยแสดงเป็นตัวประกอบในรายการเพชฌฆาตความเครียด ทางช่อง 9 ในปี พ.ศ. 2527 โดยแสดงร่วมกับนักแสดงรุ่นพี่ที่เป็นศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เช่นเดียวกัน เช่น ปัญญา นิรันดร์กุล, เกียรติ กิจเจริญ, วัชระ ปานเอี่ยม เป็นต้น ศรัณยูรักอาชีพนักแสดงที่สุด เขามีผลงานทางด้านการแสดงมากกว่า 100 เรื่อง ทั้งละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์ และละครเวที เป็นพระเอกที่ครองความนิยมในประเทศไทยในช่วงยุค 80-90 มีผลงานละครโทรทัศน์โด่งดังมากมาย ได้แก่ เก้าอี้ขาวในห้องแดง (2527) ระนาดเอก (2528) มัสยา (2528) บ้านทรายทอง และ พจมาน สว่างวงศ์ (2530) เกมกามเทพ (2531) เจ้าสาวของอานนท์ (2531) ดอกฟ้าและโดมผู้จองหอง (2532) รัตติกาลยอดรัก (2532) วนาลี (2533) รอยมาร (2533) วนิดา (2534) ไฟโชนแสง (2535) น้ำเซาะทราย (2536) ทวิภพ (2537) มนต์รักลูกทุ่ง (2538) ด้วยแรงอธิษฐาน (2539) และ นายฮ้อยทมิฬ (2544) ซึ่งแทบทุกเรื่องถูกนำมาสร้างใหม่ในภายหลัง ส่วนผลงานละครเวทีที่เป็นที่จดจำมากที่สุด คือ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่ (2530) นอกจากนั้นแล้ว ศรัณยูยังมีผลงานพิธีกร ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และผู้กำกับภาพยนตร์ มากมายหลายเรื่อง อาทิเช่น เป็นผู้กำกับละครโทรทัศน์เรื่อง "เทพนิยายนายเสนาะ" (2541), ละครพีเรียดเรื่อง "น้ำพุ" (2545), ละครสั้นสองตอนจบเรื่อง "ลูกบ้าเที่ยวล่าสุด" (2545), ละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2546), ละครเรื่อง "หลังคาแดง" (2547), ละครเรื่อง "ตราบสิ้นดินฟ้า" (2551) ผลงานการกำกับภาพยนตร์เรื่อง "อำมหิตพิศวาส" (2550) และ "คนโขน" (2554) อีกทั้งศรัณยูยังได้นำบทประพันธ์เรื่อง "หลังคาแดง" มาดัดแปลงและนำเสนอในรูปแบบละครเวทีเรื่อง "หลังคาแดง เดอะมิวสิคัล" (2555) อีกด้วย ปัจจุบัน ศรัณยูเป็นผู้จัดละครและผู้กำกับการแสดง ผลิตละครโทรทัศน์ ในนาม "สามัญการละคร" มีผลงานการกำกับละครเรื่อง "สุภาพบุรุษลูกผู้ชาย" (2556), หัวใจเถื่อน (2557), รอยรักแรงแค้น (2558) และล่าสุดเรื่อง บัลลังก์หงส์ (2559).

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์

วัฒน์ โชติชัยชรินทร์ (ชื่อเล่น: ซี) เป็นนักแสดงชายชาวไท.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและศิวัฒน์ โชติชัยชรินทร์ · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล หรือที่นิยมเรียกกันว่า หม่อมน้อย (แท้จริงแล้วต้องเรียกว่า คุณน้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2496 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และละครเวทีที่มีผลงานโดดเด่นแปลกใหม่และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคนหนึ่งของประเทศไทย ทั้งยังเป็นผู้เขียนบทและอาจารย์สอนวิชากำกับการแสดงและการแสดงในระดับสากล หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์ชนาญวัต เทวกุล กับนางภักดี เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สมรรคะบุตร) โดยสืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทววงศ์วโรปการ และหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา ทางหม่อมเจ้าสุธาสิโนทัย เทวกุล (พระอนุชาในหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร พระอัยกีใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) ผู้เป็นท่านปู่ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพมีผลงานเรื่องแรกคือ เพลิงพิศวาส ของ สหมงคลฟิล์ม ที่ได้สร้างชื่อให้แก่ สินจัย เปล่งพานิช และในอีก 26 ปีต่อมา หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพได้กลับมาร่วมงานกับสหมงคลฟิล์มอีกครั้งในการสร้างภาพยนตร์เรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ผลงานกำกับภาพยนตร์ของหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพได้รับรางวัลหลายเรื่อง เช่น เพลิงพิศวาส (2527), ช่างมันฉันไม่แคร์ (2529), ฉันผู้ชายนะยะ (2530), นางนวล (2530), เผื่อใจไว้ให้กันสักหน่อย (2532), ความรักไม่มีชื่อ (2533), มหัศจรรย์แห่งรัก (2538) และ อันดากับฟ้าใส (2540) ชีวิตส่วนตัว ยังเป็น.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

หัทยา วงษ์กระจ่าง

หัทยา วงศ์กระจ่าง มีชื่อจริงว่า หัทยา เกษสังข์ นักจัดรายการวิทยุชื่อดัง กรรมการผู้จัดการ บริษัท อินดิเพนเด้นท์ คอมมูนิเคชั่น เนตเวิร์ค จำกัด ผู้บริหารสถานีวิทยุเก็ท 102.5, 103.5 เอฟ.เอ็ม.วัน และเลิฟ เรดิโอ 104.5 และพิธีกรรายการ เช่น รายการ หัวใจใกล้กัน ทางทีวีไทย เคยมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่อง กาเหว่าที่บางเพลง เมื่อ..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและหัทยา วงษ์กระจ่าง · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและหัทยา วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

อรรคพันธ์ นะมาตร์

อรรคพันธ์ นะมาตร์ (เกิด 28 มกราคม พ.ศ. 2528) ชื่อเล่น อ๋อม เป็นนักแสดงชาวไทย มีชื่อเสียงจากละครเรื่อง พระจันทร์ลายพยัคฆ์ ซึ่งยังทำให้เขาได้รับรางวัลโทรทัศน์ทองคำในสาขานักแสดงสมทบชายดีเด่นอีกด้วย อรรคพันธ์เป็นบุตรคนโตจากพี่น้องสองคน เขาจบศึกษาระดับประถมศึกษาที่โรงเรียนดาราคาม ระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง และระดับปริญญาตรีที่คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเท.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและอรรคพันธ์ นะมาตร์ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและอรรคพันธ์ นะมาตร์ · ดูเพิ่มเติม »

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ

อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ (ชื่อเล่น: จิ๊) ซึ่งเป็นที่รู้จัก และเรียกกันติดปากว่า ป้าจิ๊ เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย ได้รับรางวัลจากผลงานการแสดง ครบทั้ง 4 รางวัลหลักคือ รางวัลพระสุรัสวดี, รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์, รางวัลโทรทัศน์ทองคำ และรางวัลเมขลา มีน้องชายหนึ่งคน (ชื่อเล่น: โจ้)อัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ, รักแม่ สุดหัวใจ, ลิปส์ พับลิชชิง,..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและอัจฉราพรรณ ไพบูลย์สุวรรณ · ดูเพิ่มเติม »

จีรนันท์ มะโนแจ่ม

ีรนันท์ มะโนแจ่ม ชื่อเล่น ยุ้ย เกิดวันพุธที่ 18 กุมภาพัน..

จีรนันท์ มะโนแจ่มและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · จีรนันท์ มะโนแจ่มและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ธัญญาเรศ เองตระกูล

ัญญาเรศ เองตระกูล นามสกุลเดิมก่อนสมรส รามณรงค์ ชื่อเล่น ธัญญ่า เกิดวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2519 เธอเกิดที่อินเดียน่าประเทศสหรัฐอเมริกา บิดาคือสุรพันธ์ รามณรงค์ มารดาคือ Jacklin ซึ่งเป็นชาวอเมริกันพื้นเพครอบครัวของคุณพ่อ คือคุณปู่ของคุณธัญญ่านั้นเป็นชาวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ธัญญ่าเป็นลูกสาวคนกลาง ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยพี่ชายคือ แดนนี่ และน้องสาวคือ มัยร่า ซึ่งธัญญาเรศมีผู้จัดการส่วนตัว คือ สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์,มีหลานสาวคืออริต์ตา รามณรงค์ และหลานชาย แดนอรุณ รามณรง.

ธัญญาเรศ เองตระกูลและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ธัญญาเรศ เองตระกูลและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์ (เดิมชื่อ นัฏฐิกา หรือ ณัฏฐิกา) หรือ น้ำผึ้ง เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2521 เป็น นักแสดงชาวไทยและอดีตผู้ประกาศข่าว.

ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ณัฐริกา ธรรมปรีดานันท์และศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ดาราวิดีโอ

ริษัท ดาราวิดีโอ จำกัด เป็นบริษัทที่ผลิตละครโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ปัจจุบันบริหารงานโดย ไพโรจน์ สังวริบุตร ผลงานเด่น เช่น คู่กรรม, วันนี้ที่รอคอย, มนต์รักลูกทุ่ง, ดาวพระศุกร์, สายโลหิต, ด้วยแรงอธิษฐาน, ทัดดาวบุษยา, จำเลยรัก, นิรมิต, สวรรค์เบี่ยง, ญาติกา, มงกุฎดอกส้ม, เบญจรงค์ห้าสี, ปอบผีฟ้า, เงิน เงิน เงิน, ซุ้มสะบันงา, คือหัตถาครองพิภพ, คมพยาบาท.

ดาราวิดีโอและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ดาราวิดีโอและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

ปัญญา นิรันดร์กุล

ปัญญา นิรันดร์กุล เป็นพิธีกรและนักแสดงชาวไทย หนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง และประธานบริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน).

ปัญญา นิรันดร์กุลและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · ปัญญา นิรันดร์กุลและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

นพพล โกมารชุน

นพพล โกมารชุน (ชื่อเล่น: ตู่) เป็นบุตรชายของนักแสดงอาวุโส เสนอ โกมารชุน (พี่ชายของ เสน่ห์ โกมารชุน) และ จุรี โอศิริ มีพี่ชายหนึ่งคนคือ นายจามร โกมารชุน (ถึงแก่กรรม) แสดงภาพยนตร์โดยเป็นตัวเอกในหลายเรื่อง แต่ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่กล่าวถึงอย่างแท้จริงด้วยกันสามบทบาท คือ การรับบท อินทร ชายหนุ่มผู้เย็นชาทนงตัวแต่แฝงด้วยความอบอุ่นอ่อนโยนและแอบรัก ละเวง มัณฑนากรสาวนางเอกของเรื่อง ในละคร เก้าอี้ขาวในห้องแดง ทางช่อง 3 (พ.ศ. 2527) ประกบคู่กับ มยุรา เศวตศิลา ซูหลิน หนุ่มจีนแผ่นดินใหญ่ผู้แสนดีและมีอุดมการณ์ ในละคร กนกลายโบตั๋น ทางช่อง 7 (พ.ศ. 2533) คู่กับ ปรียานุช ปานประดับ และเกิดเป็นความรักจนกลายเป็นคู่ชีวิตกันในเวลาต่อมา หลังจากนั้นก็สร้างความประทับใจให้ผู้ชมอีกครั้งกับบท อาเหลียง ในละครโทรทัศน์เรื่อง ลอดลายมังกร ในปี พ.ศ. 2535 ทางช่อง 7 ประกบคู่กับปรียานุช ปานประดับ และ อภิรดี ภวภูตานนท์ ประสบความสำเร็จอย่างงดงาม ต่อมา นพพลจึงเปลี่ยนบทบาทไปรับบทรองในภาพยนตร์และละครโทรทัศน์อีกหลายเรื่อง เช่น มือปืน 2 สาละวิน ในปี พ.ศ. 2536 เป็นต้น และในยุคอดีตนั้น ช่วงปลายปี พ.ศ. 2532 ถึงปลายปี พ.ศ. 2536 นพพลเคยเป็นพิธีกรรายการ จุดเดือด ของ เจเอสแอล คู่กับ กาญจนาพร ปลอดภัย และ จรียา ทิพยะวัฒน์ และเคยเป็นพิธีกรรายการ เจาะโลกมหัศจรรย์ ด้วย ช่วงเวลาดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว นพพล ยังผันตัวเองไปทำงานเบื้องหลัง โดยเฉพาะในฐานะผู้กำกับละคร ป้อนงานผลิตให้ช่อง 3 กับบริษัท ยูม่า จำกัด เช่น กตัญญูประกาศิต (พ.ศ. 2533), น้ำตาหยดสุดท้าย (พ.ศ. 2536), โสมส่องแสง (พ.ศ. 2537) เป็นต้น โดยมีนักแสดงคู่ใจอย่าง ฉัตรชัย เปล่งพานิช รับบทเป็นพระเอกให้แทบทั้งหมด ชีวิตส่วนตัว นพพล สมรสกับ ปรียานุช ปานประดับ ภรรยานักแสดงที่พบรักกันจากการร่วมแสดงในเรื่องกนกลายโบตั๋น แต่ทั้งคู่ไม่มีบุตรด้วยกัน เนื่องจากปรียานุชร่างกายไม่แข็งแรง ปัจจุบัน ได้ผันตัวเองเป็นผู้กำกับละครและผู้จัดละคร โดยเปิดกิจการของตนเอง ชื่อ บริษัท เป่าจินจง เมื่อปี 2541.

นพพล โกมารชุนและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · นพพล โกมารชุนและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

นิรุตติ์ ศิริจรรยา

นิรุตติ์ ศิริจรรยา เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มต้นการศึกษาระดับประถมและมัธยมจากโรงเรียนอัสสัมชัญ แล้วเดินทางไปเรียนต่อระดับประกาศนียบัตรที่ประเทศออสเตรเลีย วิชาการบริหารธุรกิจ เป็นเวลา 1 ปีเต็ม และที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซียอีก 2 ปีครึ่ง หลังกลับมาจากต่างประเทศ เข้าทำงานที่ AM PAC ตำแหน่งหน้าที่เอ็นจิเนียร์ จากนั้นย้ายไปทำงานตามสายการบินต่าง ๆ สุดท้ายคือบริษัทสายการบินอาลิตาเลีย นิรุตติ์เริ่มต้นด้วยการแสดงละครโทรทัศน์ โดยการชักชวนจาก เทิ่ง สติเฟื่อง และเข้าสู่วงการภาพยนตร์ จากนั้นนิรุตติ์ก็มีงานแสดงภาพยนตร์เรื่อยมา โดยส่วนใหญ่จะได้แสดงประกบพระเอกอื่นๆ แต่ก็ยังมีงานละครโทรทัศน์พร้อมอีกด้วย โฆษณ.

นิรุตติ์ ศิริจรรยาและรางวัลโทรทัศน์ทองคำ · นิรุตติ์ ศิริจรรยาและศรัณยู วงษ์กระจ่าง · ดูเพิ่มเติม »

แอน ทองประสม

แอน ทองประสม เกิดวันที่ 1 พฤศจิกายน..

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและแอน ทองประสม · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและแอน ทองประสม · ดูเพิ่มเติม »

เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

อมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิท.

รางวัลโทรทัศน์ทองคำและเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · ศรัณยู วงษ์กระจ่างและเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง

รางวัลโทรทัศน์ทองคำ มี 216 ความสัมพันธ์ขณะที่ ศรัณยู วงษ์กระจ่าง มี 270 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 19, ดัชนี Jaccard คือ 3.91% = 19 / (216 + 270)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลโทรทัศน์ทองคำและศรัณยู วงษ์กระจ่าง หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »