เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์

รางวัลแกรมมี vs. แพต เบเนทาร์

รางวัลแกรมมี รางวัลแกรมมี (Grammy Award) มีชื่อเต็มว่า Gramophone Awards เป็นรางวัลทางดนตรี และศิลปิน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะวิทยาการการบันทึกเสียงแห่งสหรัฐอเมริกา (National Academy of Recording Arts and Sciences:NARAS) เป็นรายการแจกรางวัลให้ผู้มีผลงานโดดเด่นในอุตสาหกรรมการดนตรี จัดขึ้นเป็นประจำปีในสหรัฐอเมริกา โดยมากจะจัดในเดือนกุมภาพันธ์ มีสาขารางวัลถึง 108 สาขา ใน 30 แนวเพลง เป็นการโหวดโดยคณะกรรมการใน NARAS(คณะกรรมการที่เคยโหวดเช่น จอน บอน โจวี, ปริ้นซ์, Anand Bhatt, พอล ไซม่อน, เป็นต้น) รางวัลแกรมมีเริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 โดยเริ่มถ่ายทอดสดในปี 1971. แพต เบเนทาร์ (Pat Benatar) เกิดเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1953 เป็นนักร้องชาวอเมริกันที่เคยได้รับรางวัลแกรมมี่มาแล้ว 4 ครั้ง มีเสียงในแบบเมซโซ-โซปราโน เธอยังเป็นหนึ่งในนักร้องหญิงแนวสไตล์ร็อกระดับแถวหน้า มีผลงานเพลงดังอย่าง "Love Is a Battlefield", "Hit Me with Your Best Shot", "We Belong" และ "Heartbreaker" ส่วนเพลงที่ทำให้เธอเป็นที่รู้จักหรือแจ้งเกิดคือเพลง"Wuthering Heights" เบเนทาร์เป็น 1 ในศิลปินที่มีเพลงยอดขายระดับแผ่นเสียงทองคำขาวมากที่สุดของยุคคริสต์ทศวรรษ 1980 จากข้อมูลของ RIAA มีผลงานระดับหลายแผ่นเสียงทองคำขาว 2 ชุด และ 5 ชุดที่ได้รับแผ่นเสียงทองคำขาว และ 3 อัลบั้มแผ่นเสียงทองคำ โดยมีเพลงติดท็อป 40 อยู่ 19 เพลง นอกจากนั้นเบเนทาร์ ยังเป็นศิลปินหญิงคนแรกที่มีมิวสิกวิดีโอออกทางช่องเอ็มทีวี กับเพลง "You Better Run" ถือเป็นเพลงที่ 2 ที่เปิดบนเอ็มทีวี ตามหลังเพลงแรกที่เปิดคือเพลง "Video Killed the Radio Star" ของวงเดอะบักเกิล.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์

รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์

รางวัลแกรมมี มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ แพต เบเนทาร์ มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (19 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลแกรมมีและแพต เบเนทาร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: