โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ

รางวัลแกรมมี vs. ออดิโอสเลฟ

รางวัลแกรมมี รางวัลแกรมมี (Grammy Award) มีชื่อเต็มว่า Gramophone Awards เป็นรางวัลทางดนตรี และศิลปิน ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของโลก จัดขึ้นโดยสถาบันศิลปะวิทยาการการบันทึกเสียงแห่งสหรัฐอเมริกา (National Academy of Recording Arts and Sciences:NARAS) เป็นรายการแจกรางวัลให้ผู้มีผลงานโดดเด่นในอุตสาหกรรมการดนตรี จัดขึ้นเป็นประจำปีในสหรัฐอเมริกา โดยมากจะจัดในเดือนกุมภาพันธ์ มีสาขารางวัลถึง 108 สาขา ใน 30 แนวเพลง เป็นการโหวดโดยคณะกรรมการใน NARAS(คณะกรรมการที่เคยโหวดเช่น จอน บอน โจวี, ปริ้นซ์, Anand Bhatt, พอล ไซม่อน, เป็นต้น) รางวัลแกรมมีเริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1959 โดยเริ่มถ่ายทอดสดในปี 1971. ออดิโอสเลฟ (Audioslave) เป็นวงฮาร์ดร็อกซุปเปอร์กรุ๊ปที่เกิดจากการรวมตัวของ 3 สมาชิกหลักวงเรจอะเกนสต์เดอะแมชชีน ได้แก่ ทอม โมเรลโล (กีต้าร์), ทิม คอมเมอร์ฟอร์ด (เบส) และแบรด วิลก์ (กลอง) ร่วมด้วยคริส คอร์เนลล์ นักร้องนำวงซาวด์การ์เดน หลังจากออดิโอสเลฟออกผลงานอัลบั้มที่ประสบความสำเร็จทั้ง 3 ชุด พวกเขาได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลแกรมมี่ 3 ครั้ง และถือเป็นวงอเมริกันร็อกวงแรกที่ได้แสดงคอนเสิร์ตเปิดโล่งในคิวบา คอร์เนลล์พูดไว้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2007 ว่า "เขาออกจากวงโดยการถาวร เนื่องจากความขัดแย้งของปัญหาส่วนตัวที่แก้ไขไม่ได้ และความแตกต่างทางด้านแนวเพลง" ด้านทั้ง 3 คนที่เหลือก็ยุ่งกับการกลับมารวมตัวใหม่ของวงเรจอะเกนสต์เดอะแมชชีน โมเรลโลและคอร์เนลล์ออกผลงานเดี่ยวในปี 2007 ทำให้ออดิโอสเลฟแยกวงอย่างเป็นทางการ ต่อมาในเดือนมกราคม 2017 ออดิโอสเลฟประกาศรวมตัวอีกครั้ง แต่ในอีกสี่เดือนต่อมา คริส คอร์เนลล์ นักร้องนำของวงเสียชีวิต.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ

รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ

รางวัลแกรมมี มี 19 ความสัมพันธ์ขณะที่ ออดิโอสเลฟ มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (19 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลแกรมมีและออดิโอสเลฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »