โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 vs. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 ประจำปี.. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดย สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ (สสภช) เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้เขียนบทภาพยนตร์ที่ทำผลงานได้โดดเด่นและดีเยี่ยม เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นครั้งแรกใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มี 14 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุญส่ง นาคภู่ภวังค์รักยุทธเลิศ สิปปภาคลี ชาตะเมธีกุลสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุลคิดถึงวิทยาตุ๊กแกรักแป้งมากประเทศไทยนิธิวัฒน์ ธราธรนนทรีย์ นิมิบุตรแผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557)ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้

บุญส่ง นาคภู่

ญส่ง นาคภู่ (ชื่อเล่น: สืบ) นักแสดงและผู้กำกับภาพยนตร์อิสระชาวไทย เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2511 ในครอบครัวชาวนาที่อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย บุญส่งชื่นชอบในศาสตร์ทางด้านภาพยนตร์มาตั้งแต่เด็ก ๆ โดยมี สรพงษ์ ชาตรี เป็นนักแสดงในดวงใจ บุญส่งเดินทางเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยการเข้าเรียนทางด้านการแสดง ในคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเริ่มทำงานเบื้องหลังภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ด้วยการเป็นผู้ช่วยผู้กำกับในหลาย ๆ เรื่อง เช่น สมองกล คนอัจฉริยะ และสร้างภาพยนตร์สั้นหลายต่อหลายเรื่อง จากนั้นได้เป็นผู้ฝึกสอนนักแสดงใน บางระจัน และ ทวิภพ และร่วมแสดงใน 15 ค่ำเดือน 11, ฟอร์มาลีนแมน รักเธอเท่าฟ้า, แม่เบี้ย ก่อนที่จะได้ลงมือกำกับเองจริง ๆ เป็นเรื่องแรก ใน 191 ครึ่ง มือปราบทราบแล้วป่วน ซึ่งภาพยนตร์ไม่ประสบความสำเร็จเลย ผลงานในระยะหลัง ๆ ได้แก่ เป็นผู้กำกับตอน ผีปอบ ใน หลอน ในปี พ.ศ. 2546 ร่วมแสดงใน เฉือน ในปี พ.ศ. 2552, พุ่มพวง ในปี พ.ศ. 2554 และอันธพาล ในปี พ.ศ. 2555 ซึ่งทั้ง 2 เรื่องหลังเป็นผลงานการกำกับของ ก้องเกียรติ โขมศิริ ซึ่งได้รับคำวิจารณ์ว่าแสดงได้ดี ทั้ง ๆ ที่เป็นแค่ตัวประกอ.

บุญส่ง นาคภู่และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · บุญส่ง นาคภู่และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ภวังค์รัก

"ภวังค์รัก" (Concrete Clouds) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวดราม่า ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2557 เขียนบทและกำกับโดย ลี ชาตะเมธีกุล นำแสดงโดย อนันดา เอเวอร์ริ่งแฮม, เจนสุดา ปานโต, อภิญญา สกุลเจริญสุข และประวิทย์ ฮันสเตน กำหนดออกฉายในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557.

ภวังค์รักและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · ภวังค์รักและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธเลิศ สิปปภาค

ทธเลิศ สิปปภาค (ชื่อเล่น: ต้อม) เป็น ผู้เขียนบทภาพยนตร์, ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไท.

ยุทธเลิศ สิปปภาคและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · ยุทธเลิศ สิปปภาคและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ลี ชาตะเมธีกุล

ลี ชาตะเมธีกุล นักลำดับภาพ และนักตัดต่อเสียง ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย ที่เน้นผลิตผลงานกับผู้สร้างอิสระ โดยเฉพาะกับ อภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล ปัจจุบันเปิดบริษัทรับจ้างทำงานโพสต์โปรดักชั่น ชื่อ ฮูดินี สตูดิโอ ตั้งแต..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และลี ชาตะเมธีกุล · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและลี ชาตะเมธีกุล · ดูเพิ่มเติม »

สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ

มาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ อักษรย่อว่า "สสภช" (NFTFA) เดิมชื่อ สมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ ได้รับการจัดตั้งเมื่อปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · ดูเพิ่มเติม »

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล

หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล หรือที่นิยมเรียกกันว่า หม่อมน้อย (แท้จริงแล้วต้องเรียกว่า คุณน้อย) เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2496 เป็นผู้กำกับภาพยนตร์ ผู้กำกับละครโทรทัศน์ และละครเวทีที่มีผลงานโดดเด่นแปลกใหม่และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวคนหนึ่งของประเทศไทย ทั้งยังเป็นผู้เขียนบทและอาจารย์สอนวิชากำกับการแสดงและการแสดงในระดับสากล หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล เป็นบุตรของหม่อมราชวงศ์ชนาญวัต เทวกุล กับนางภักดี เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สมรรคะบุตร) โดยสืบเชื้อสายมาจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทววงศ์วโรปการ และหม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา ทางหม่อมเจ้าสุธาสิโนทัย เทวกุล (พระอนุชาในหม่อมเจ้าอัปษรสมาน กิติยากร พระอัยกีใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ) ผู้เป็นท่านปู่ หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพมีผลงานเรื่องแรกคือ เพลิงพิศวาส ของ สหมงคลฟิล์ม ที่ได้สร้างชื่อให้แก่ สินจัย เปล่งพานิช และในอีก 26 ปีต่อมา หม่อมหลวงพันธุ์เทวนพได้กลับมาร่วมงานกับสหมงคลฟิล์มอีกครั้งในการสร้างภาพยนตร์เรื่อง ชั่วฟ้าดินสลาย ผลงานกำกับภาพยนตร์ของหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพได้รับรางวัลหลายเรื่อง เช่น เพลิงพิศวาส (2527), ช่างมันฉันไม่แคร์ (2529), ฉันผู้ชายนะยะ (2530), นางนวล (2530), เผื่อใจไว้ให้กันสักหน่อย (2532), ความรักไม่มีชื่อ (2533), มหัศจรรย์แห่งรัก (2538) และ อันดากับฟ้าใส (2540) ชีวิตส่วนตัว ยังเป็น.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและหม่อมหลวงพันธุ์เทวนพ เทวกุล · ดูเพิ่มเติม »

คิดถึงวิทยา

ึงวิทยา (Teacher’s Diary) เป็นภาพยนตร์ไทยออกฉายในปี..

คิดถึงวิทยาและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · คิดถึงวิทยาและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ตุ๊กแกรักแป้งมาก

ตุ๊กแกรักแป้งมาก เป็นภาพยนตร์ไทยในปี..

ตุ๊กแกรักแป้งมากและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · ตุ๊กแกรักแป้งมากและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · ประเทศไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

นิธิวัฒน์ ธราธร

นิธิวัฒน์ ธราธร ผู้กำกับภาพยนตร์ไทย กลุ่ม 365 ฟิล์ม ค่าย จีทีเอช เกิดเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2517.

นิธิวัฒน์ ธราธรและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · นิธิวัฒน์ ธราธรและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

นนทรีย์ นิมิบุตร

นนทรีย์ นิมิบุตร ชื่อเล่นชื่อ อุ๋ย (เกิด 18 ธันวาคม พ.ศ. 2505 ที่จังหวัดนนทบุรี) เป็นทั้งผู้กำกับภาพยนตร์, ผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ และนักเขียนบทภาพยนตร์ นับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกวงการภาพยนตร์ยุคใหม่ของไทย ตั้งแต่ที่ได้กำกับเรื่อง 2499 อันธพาลครองเมือง ออกฉายเมื่อ..

นนทรีย์ นิมิบุตรและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 · นนทรีย์ นิมิบุตรและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

แผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557)

แผลเก่า เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และแผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557) · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและแผลเก่า (ภาพยนตร์ พ.ศ. 2557) · ดูเพิ่มเติม »

ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้

อฟ..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นภาพยนตร์ไทยแนวรักตลกที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2557 กำกับโดย เมษ ธราธร ที่เคยสร้างชื่อเสียงไว้ในการกำกับภาพยนตร์เรื่อง ATM เออรัก เออเร่อ นำแสดงโดย ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์ และ ปรีชญา พงษ์ธนานิกร ภาพยนตร์เรื่องดังกล่าวเริ่มออกฉายอย่างเป็นทางการในวันที่ 10 ธันวาคม..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยมและไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24 มี 68 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม มี 174 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 14, ดัชนี Jaccard คือ 5.79% = 14 / (68 + 174)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 24และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขาบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »