โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 vs. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 ประจำปี.. รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม เป็นรางวัลที่จัดเป็นประจำทุกปีโดย สมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ (สสภช) เพื่อเป็นเกียรติแก่นักแสดงหญิงในบทสมทบจากภาพยนตร์ที่ทำผลงานได้โดดเด่นและดีเยี่ยม เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นครั้งแรกใน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม มี 12 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มาช่า วัฒนพานิชศันสนีย์ วัฒนานุกูลหนีตามกาลิเลโอห้าแพร่งจรินทร์พร จุนเกียรติณ ขณะรักคริส หอวังความจำสั้น แต่รักฉันยาวประเทศไทยเจสสิกา ภาสะพันธุ์เดือนเต็ม สาลิตุลเฉือน

มาช่า วัฒนพานิช

มาช่า วัฒนพานิช (24 สิงหาคม พ.ศ. 2513) มีชื่อจริงแต่เดิมว่า มาร์ชา วัฒนพานิช Marion Ursula Marsha Vadhanapanich; ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น สยมพร, ธนัฏฐาไทยรั.

มาช่า วัฒนพานิชและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · มาช่า วัฒนพานิชและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ศันสนีย์ วัฒนานุกูล

ันสนีย์ วัฒนานุกูล (สกุลเดิม: สมานวรวงศ์) เกิดวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 หรือชื่อเล่นว่า "นิด" เป็น นักพากย์ การ์ตูนชาวไทย อดีตนางเอกละคร เคยได้รับฉายา "นางเอกเขี้ยวเสน่ห์" โดยเริ่มงานพากย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 เป็นต้นมา มักจะได้รับบทเป็นพระเอกตอนเด็กหรือนางเอก ผลงานที่มีชื่อเสียงคือพากย์เสียงของ โนบิ โนบิตะ ในการ์ตูน โดราเอมอน ตลอด 32 ปี ปัจจุบัน พากย์เสียงให้แก่บริษัทการ์ตูนหลายแห่ง เช่น ช่อง 9 อ.ส.ม.ท., เด็กซ์ และ อามีโก้.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และศันสนีย์ วัฒนานุกูล · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและศันสนีย์ วัฒนานุกูล · ดูเพิ่มเติม »

หนีตามกาลิเลโอ

หนีตามกาลิเลโอ (Dear Galileo) (เดิมชื่อ กาลิเลโอ เพราะโลกมีแรงดึงดูด) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย นิธิวัฒน์ ธราธร โดยภาพยนตร์เรื่องนี้ไปถ่ายทำไกลถึง 3 ประเทศ 3 เมือง คือ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส และ เวนิส ประเทศอิตาลี ภาพยนตร์ทำรายได้ 30.34 ล้านบาท.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และหนีตามกาลิเลโอ · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและหนีตามกาลิเลโอ · ดูเพิ่มเติม »

ห้าแพร่ง

ห้าแพร่ง (Phobia 2) เป็นภาพยนตร์แนวสยองขวัญ โดยมีโครงเรื่องเกี่ยวกับผีและความกลัวเช่นเดียวกับ สี่แพร่ง แต่จะถ่ายทอดผ่านภาพยนตร์สั้น 5 เรื่อง เข้าฉายเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2552 และมีการจัดฉายรอบสื่อมวลชนเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552 ณ โรงภาพยนตร์เอสเอฟ เวิลด์ ซีเนมา ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีการถ่ายทอดสดบรรยากาศงานผ่านเว็บไซต์ทางการของภาพยนตร์ นับเป็นภาพยนตร์ไทยเรื่องแรกที่มีการถ่ายทอดสดบรรยากาศการจัดฉายรอบสื่อมวลชนทางอินเทอร์เน็ต เป็นหนังสยองขวัญ ที่ทำสถิติรายได้เปิดตัวสูงที่สุดในประวัติศาสตร์ของวงการหนังไทย ภาพยนตร์เรื่อง ห้าแพร่ง ทำรายได้จากการเข้าฉายในประเทศไทยจำนวน 113.5 ล้านบาท (เฉพาะกรุงเทพฯและปริมณฑล).

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และห้าแพร่ง · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและห้าแพร่ง · ดูเพิ่มเติม »

จรินทร์พร จุนเกียรติ

รินทร์พร จุนเกียรติ (เกิด 29 มกราคม พ.ศ. 2533) ชื่อเล่น เต้ย เป็นนักแสดงชาวไท.

จรินทร์พร จุนเกียรติและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · จรินทร์พร จุนเกียรติและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ณ ขณะรัก

ณ ขณะรัก หรือชื่ออื่นว่า อะโมเมนต์อินจูน (A Moment in June) เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายในประเทศไทยเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 ผลงานกำกับของ ณัฐพล วงศ์ตรีเนตรกุล นำแสดงโดย ชาคริต แย้มนาม, กฤษดา สุโกศล แคลปป์, เดือนเต็ม สาลิตุล, สินิทธา บุญยศักดิ์, นภัสกร มิตรเอม, สุเชาว์ พงษ์วิไล, มยุริญ ผ่องผุดพันธ์ และ ฮิโระ ซะโนะ ภาพยนตร์เรื่องนี้ได้รับเกียรติให้ฉายเปิดเทศกาลและฉายอย่างเป็นทางการครั้งแรกของโลกที่ “เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติปูซาน ครั้งที่ 13” ประเทศเกาหลีใต้ เมื่อเดือนตุลาคม 2551 เนื้อหาของเรื่องเป็นเรื่องราวความรักและความสัมพันธ์ที่เคยพลาดของคน 6 คนที่ผ่านบทเพลงที่ทำให้พวกเขามาพบกัน โดยเป็นเหตุการณ์ 2 ห้วงเวลาในปี 2515 และ 2542 มีเพลงประกอบภาพยนตร์คือ เพลง "ความคิด" เนื้อร้อง-ทำนอง-ขับร้อง อภิวัชร์ เอื้อถาวรสุข ภาพยนตร์ทำรายได้ 5.62 ล้านบาท.

ณ ขณะรักและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · ณ ขณะรักและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

คริส หอวัง

ริส หอวัง หรือชื่อจริงว่า ศิริน หอวัง เป็นนักแสดง นักร้อง ครูสอนเต้น นักจัดรายการวิทยุ พิธีกร และนางแบบชาวไท.

คริส หอวังและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · คริส หอวังและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ความจำสั้น แต่รักฉันยาว

วามจำสั้น แต่รักฉันยาว (Best of Times) เป็นภาพยนตร์ไทยแนวโรแมนติก/ดราม่า มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์วันที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2552 กำกับโดย ยงยุทธ ทองกองทุน โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจากภาพยนตร์สั้นเรื่อง เวลา…รัก โดย ขนิษฐา ขวัญอยู่ ภาพยนตร์ทำรายได้ 49.1 ล้านบาท.

ความจำสั้น แต่รักฉันยาวและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · ความจำสั้น แต่รักฉันยาวและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 · ประเทศไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม · ดูเพิ่มเติม »

เจสสิกา ภาสะพันธุ์

กา ภาสะพันธุ์ (เกิด 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2531) เป็นนักแสดงชาวไท.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเจสสิกา ภาสะพันธุ์ · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและเจสสิกา ภาสะพันธุ์ · ดูเพิ่มเติม »

เดือนเต็ม สาลิตุล

ือนเต็ม สาลิตุล หรือ 'ตุ๊ก' นักแสดงหญิงเจ้าบทบาท ที่มีผลงานทั้งทางละครทีวีและภาพยนตร์ เกิดเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อแรกเข้าวงการใช้ชื่อในการแสดงว่า เดือนเต็ม เผ่าทองสุข เข้าสู่วงการครั้งแรก จากการชักชวนของ อารีย์ นักดนตรี เมื่อปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเดือนเต็ม สาลิตุล · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและเดือนเต็ม สาลิตุล · ดูเพิ่มเติม »

เฉือน

ฉือน (Slice) เป็นภาพยนตร์แนวสืบสวนสอบสวน ก้องเกียรติ โขมศิริ กำกับ วิศิษฏ์ ศาสนเที่ยง เขียนบท อารักษ์ อมรศุภศิริ กับฉัตรชัย เปล่งพานิช นำแสดง เริ่มฉายในโรงภาพยนตร์ ณ วันที่ 22 ตุลาคม 2552 และมีรายได้ทั้งสิ้น 6.3 ล้านบาท.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และเฉือน · รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยมและเฉือน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19 มี 68 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม มี 237 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 12, ดัชนี Jaccard คือ 3.93% = 12 / (68 + 237)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »