โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 vs. อารักษ์ อมรศุภศิริ

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี พ.ศ. 2550 จัดโดยสมาคมสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ จัดขึ้นในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ณ โรงละครสยามนิรมิต กรุงเทพมหานคร ซึ่งมีภาพยนตร์ส่งเข้าประกวด 43 เรื่อง โดย 2 เรื่องที่ถอนตัวไปร่วมประกวดคือ "ตำนานสมเด็จพระเนรศวร ภาค 1 และ 2" ของ หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล (จากซ้าย) '''สนธยา ชิตมณี''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' '''เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''รักแห่งสยาม'' '''มาช่า วัฒนพานิช''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''แฝด'' และ '''อัครา อมาตยกุล''' ผู้ได้รับรางวัลผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม จากภาพยนตร์เรื่อง ''ไชยา'' ชูเกียรติ ศักดิ์วีระกุล ผู้ชนะรางวัลผู้กำกับยอดเยี่ยม อัครา อมาตยกุล ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยมมาช่า วัฒนพานิช ผู้ชนะรางวัลนักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยมสนธยา ชิตมณี ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ ผู้ชนะรางวัลนักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ผู้ชนะรางวัล จะเน้นด้วย ตัวหน. อารักษ์ อมรศุภศิริ (เกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร) เป็นนักแสดง นายแบบ และนักดนตรีชาวไทย มีผลงานในวงการบันเทิงครั้งแรก กับการเป็นมือกีตาร์วงสะเลอ หลังจากนั้นมีผลงานแสดงภาพยนตร์เรื่องแรกคือ บอดี้..ศพ#19 ที่สร้างชื่อเสียง ได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 ประจำปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บอดี้ ศพ*19พ.ศ. 2550พ.ศ. 2551กรุงเทพมหานครสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลอภิญญา สกุลเจริญสุขจีเอ็มเอ็ม ไท หับประเทศไทยปวีณ ภูริจิตปัญญาไฟว์สตาร์โปรดักชั่นเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

บอดี้ ศพ*19

อดี้ ศพ #19 (Body) เป็นภาพยนตร์สยองขวัญแนวจิตวิทยา กำกับโดย ปวีณ ภูริจิตปัญญา เข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550.

บอดี้ ศพ*19และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · บอดี้ ศพ*19และอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2550และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · พ.ศ. 2550และอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2551และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · พ.ศ. 2551และอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · กรุงเทพมหานครและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล

ริษัท สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด เป็นบริษัทธุรกิจผู้สร้างและจัดจำหน่ายภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้นำเข้าภาพยนตร์จากต่างประเทศ อาทิ ภาพยนตร์ฮ่องกง, ภาพยนตร์ฮอลลีวูด ก่อตั้งและบริหารงานโดย สมศักดิ์ เตชะรัตนประเสริฐ ตั้งแต..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และสหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนล · สหมงคลฟิล์ม อินเตอร์เนชั่นแนลและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

อภิญญา สกุลเจริญสุข

อภิญญา สกุลเจริญสุข (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2533) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ชาวไทย เริ่มเป็นที่รู้จักจากการเป็นนางเอกภาพยนตร์เรื่อง พลอย และอดีตหนึ่งในพิธีกรรายการ "สตรอเบอร์รี่ชีสเค้ก".

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอภิญญา สกุลเจริญสุข · อภิญญา สกุลเจริญสุขและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

จีเอ็มเอ็ม ไท หับ

ีเอ็มเอ็ม ไท หับ หรือที่นิยมเรียกตามชื่อย่อว่า จีทีเอช เป็นอดีตบริษัทผู้ผลิตและจำหน่ายภาพยนตร์ไทย ในเครือจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จีทีเอชเกิดขึ้นหลังจากจีเอ็มเอ็ม พิคเจอร์, ไท เอ็นเตอร์เทนเมนต์ และ ร่วมกันสร้างภาพยนตร์เรื่อง แฟนฉัน เมื่อปี พ.ศ. 2546 และประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูง จึงรวมตัวเป็นบริษัทเดียวกัน ต่อมา ภาพยนตร์ของจีทีเอชได้รับความนิยมชมชอบและทำรายได้ดีแทบทุกเรื่อง เช่น ชัตเตอร์ กดติดวิญญาณ, ห้าแพร่ง, รถไฟฟ้า มาหานะเธอ, กวน มึน โฮ, ลัดดาแลนด์, ATM เออรัก เออเร่อ, พี่มากพระโขนง, คิดถึงวิทยา, ไอฟาย..แต๊งกิ้ว..เลิฟยู้ เป็นต้น นอกจากภาพยนตร์แล้ว จีทีเอชยังผลิตละคร ซิตคอม และซีรีส์อีกด้วย อาทิ ซิทคอมตระกูลเนื้อคู่, หมวดโอภาส ยอดมือปราบคดีพิศวง, Hormones วัยว้าวุ่น, เพื่อนเฮี้ยน..โรงเรียนหลอน, น้ำตากามเทพ, มาลี เพื่อนรัก..พลังพิสดาร อีกทั้งมีผลงานคอนเสิร์ตและละครเวทีอีกด้วย เช่น Feel Good Music & Movie Concert (ฉลอง 3 ปี จีทีเอช), GTH Day: Play It Forward Concert (ฉลอง 7 ปี จีทีเอช), ละครเวที ลำซิ่งซิงเกอร์, STAR THEQUE GTH 11 ปีแสงคอนเสิร์ต.

จีเอ็มเอ็ม ไท หับและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · จีเอ็มเอ็ม ไท หับและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศไทย

ประเทศไทย มีชื่ออย่างเป็นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐชาติอันตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เดิมมีชื่อว่า "สยาม" รัฐบาลประกาศเปลี่ยนชื่อเป็นประเทศไทยอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี 2482 ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่ 513,115 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 20 ของโลก คือ ประมาณ 66 ล้านคน กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินและนครใหญ่สุดของประเทศ และการปกครองส่วนภูมิภาค จัดระเบียบเป็น 76 จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภาในปี 2475 แต่กองทัพยังมีบทบาทในการเมืองไทยสูง ล่าสุด เกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 และมีการปกครองแบบเผด็จการทหารนับแต่นั้น พบหลักฐานการอยู่อาศัยอย่างต่อเนื่องในอาณาเขตประเทศไทยปัจจุบันตั้งแต่ 20,000 ปีก่อนคริสตกาล ชาวไทเริ่มอพยพเข้าสู่บริเวณนี้ในคริสต์ศตวรรษที่ 11 แล้วเข้ามาตั้งแว่นแคว้นต่าง ๆ ที่สำคัญได้แก่ อาณาจักรสุโขทัย อาณาจักรล้านนาและอาณาจักรอยุธยา นักประวัติศาสตร์มักถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ไทย ต่อมาอาณาจักรอยุธยาค่อย ๆ เรืองอำนาจมากขึ้นจนเป็นมหาอำนาจในภูมิภาคในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 14 การติดต่อกับชาติตะวันตกเริ่มด้วยผู้แทนทางทูตชาวโปรตุเกสในปี 2054 อาณาจักรรุ่งเรืองอย่างมากในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช (ครองราชย์ปี 2199–2231) แต่หลังจากนั้นค่อย ๆ เสื่อมอำนาจโดยมีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการผลัดแผ่นดินที่มีการนองเลือดหลายรัชกาล จนสุดท้ายกรุงศรีอยุธยาถูกทำลายสิ้นเชิงในปี 2310 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงรวบรวมแผ่นดินที่แตกออกเป็นก๊กต่าง ๆ และสถาปนาอาณาจักรธนบุรีที่มีอายุ 15 ปี ความวุ่นวายในช่วงปลายอาณาจักรนำไปสู่การสำเร็จโทษพระองค์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ปฐมราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ประเทศเผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง แต่หลังรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นต้นมา ชาติตะวันตกเริ่มมีอิทธิพลในภูมิภาคเป็นอย่างมาก นำไปสู่การเข้าเป็นภาคีแห่งสนธิสัญญาไม่เป็นธรรมหลายฉบับ กระนั้น สยามไม่ตกเป็นอาณานิคมของตะวันตกชาติใด มีการปรับให้สยามทันสมัยและรวมอำนาจปกครองในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ครองราชย์ปี 2411–53) สยามเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในปี 2460; ในปี 2475 เกิดการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญโดยไม่เสียเลือดเนื้อ คณะราษฎรมีบทบาทนำทางการเมือง และในพุทธทศวรรษ 2480 นายกรัฐมนตรี จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ดำเนินนโยบายชาตินิยมเข้มข้น ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ไทยเข้ากับฝ่ายอักษะ แต่ฝ่ายสัมพันธมิตรส่วนใหญ่ไม่ยอมรับการประกาศสงคราม ในช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยเป็นพันธมิตรกับสหรัฐซึ่งสนับสนุนรัฐบาลทหารมาก รัฐประหารที่มีจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นหัวหน้าคณะในปี 2500 ทำให้คณะราษฎรหมดอำนาจ รัฐบาลฟื้นฟูพระราชอำนาจและมีมาตรการต่อต้านคอมมิวนิสต์ในภูมิภาค ผลของเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ทำให้เกิดประชาธิปไตยระบบรัฐสภาช่วงสั้น ๆ ประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรีจากการเลือกตั้งครั้งแรกในปี 2531 หลังพุทธทศวรรษ 2540 มีวิกฤตการเมืองระหว่างฝ่ายที่สนับสนุนและต่อต้านอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรมาจนปัจจุบัน รวมทั้งเกิดรัฐประหารสองครั้ง โดยครั้งล่าสุดเกิดในปี 2557 รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นฉบับที่ 20 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2560 หลังมีการลงประชามติรับร่างเมื่อหนึ่งปีก่อน ประเทศไทยเป็นสมาชิกสหประชาชาติ เอเปก อีกทั้งเป็นร่วมผู้ก่อตั้งอาเซียน ประเทศไทยเป็นพันธมิตรของสหรัฐตั้งแต่สนธิสัญญาซีโต้ในปี 2497 ถือเป็นประเทศอำนาจนำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศอำนาจปานกลางในเวทีโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีรายได้ปานกลาง-สูงและประเทศอุตสาหกรรมใหม่ มีรายได้หลักจากภาคอุตสาหกรรมและบริการ การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจทำให้มีการอพยพเข้าสู่เมืองในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ตามประมาณการในปี 2560 จีดีพีของประเทศไทยมีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ นับว่าเศรษฐกิจไทยเป็นเศรษฐกิจใหญ่สุดเป็นอันดับ 2 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และใหญ่เป็นอันดับที่ 26 ของโลก.

ประเทศไทยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · ประเทศไทยและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณ ภูริจิตปัญญา

ปวีณ ภูริจิตปัญญา หรือ กัญจน์ ภูริจิตปัญญา (ชื่อเล่น กอล์ฟ) เกิดเมื่อปี..

ปวีณ ภูริจิตปัญญาและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 · ปวีณ ภูริจิตปัญญาและอารักษ์ อมรศุภศิริ · ดูเพิ่มเติม »

ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น

ฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เป็นบริษัทผู้สร้างภาพยนตร์ไทยรายใหญ่ของไทย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดย เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร เดิมชื่อว่า บริษัทนิวไฟว์สตาร์ ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น ไฟว์สตาร์ โปรดักชั่น เมื่อประมาณ พ.ศ. 2523 โดยไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้ดำเนินการผลิตภาพยนตร์คุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อความบันเทิงทั้งในและต่างประเทศตลอดระยะเวลา 40 ปี ภาพยนตร์ของ ไฟว์สตาร์โปรดักชั่น ได้รับความนิยมชมชอบแทบทุกเรื่องในสมัยก่อนจนถึงปัจจุบัน เช่น ขุนศึก, ลูกอีสาน, ผู้ใหญ่ลีกับนางมา, บุญชู, น้ำพุ, วัยระเริง, อนึ่งคิดถึงพอสังเขป, กลิ่นสีและกาวแป้ง, กว่าจะรู้เดียงสา, ส.อ.ว.ห้อง 2 รุ่น 44, คู่กรรม, อำแดงเหมือนกับนายริด, หวานมันส์ ฉันคือเธอ, ด้วยเกล้า, หลังคาแดง, ฟ้าทะลายโจร, มนต์รักทรานซิสเตอร์ เป็นต้น หลังจาก เกียรติ เอี่ยมพึ่งพร ถูกโส ธนวิสุทธิ์ ลอบยิงเสียชีวิต เมื่อวันที่ 16 กุมภาพัน..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · อารักษ์ อมรศุภศิริและไฟว์สตาร์โปรดักชั่น · ดูเพิ่มเติม »

เฌอมาลย์ บุญยศักดิ์

อมาลย์ บุญยศักดิ์ ชื่อเล่น พลอย (15 กันยายน พ.ศ. 2525) เป็นนักแสดงหญิงชาวไทย เป็นน้องสาวของดารัณ บุญยศักดิ์ อดีตนักแสดง มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงจากละครเรื่อง ระบำดวงดาว ขุนศึก มาดามดัน สามีตีตรา และภาพยนตร์เรื่อง บุปผาราตรี รักแห่งสยาม ชั่วฟ้าดินสลาย สี่แพร่ง และคิดถึงวิท.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · อารักษ์ อมรศุภศิริและเฌอมาลย์ บุญยศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17 มี 75 ความสัมพันธ์ขณะที่ อารักษ์ อมรศุภศิริ มี 112 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 5.88% = 11 / (75 + 112)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 17และอารักษ์ อมรศุภศิริ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »