โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 vs. รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 ประจำปี.. รายชื่อบทภาพยนตร์ ที่ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม การประกวดภาพยนตร์ไท.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พี่น้องตระกูลแปงจิระ มะลิกุล15 ค่ำ เดือน 11

พี่น้องตระกูลแปง

องพี่น้องตระกูลแปง ประกอบด้วย แดนนี่ แปง (Danny Pang Phat, 彭發) และออกไซด์ แปง (Oxide Pang Chun, 彭順) เป็นพี่น้องฝาแฝด เป็นผู้กำกับภาพยนตร์และนักเขียนบทภาพยนตร์ชื่อดังชาวฮ่องกง เกิดเมื่อปี ค.ศ. 1965 ที่ฮ่องกง ผลงานส่วนมากถ่ายทำในประเทศไทยและมีนักแสดงชาวไทยมาร่วมแสดงด้วย โดยออกไซด์เป็นพี่ชายเกิดก่อนแดนนี่ราว 15 นาที เริ่มต้นอาชีพในวงการภาพยนตร์ด้วยการศึกษาที่สถาบันกันตนา ในประเทศไทย ก่อนที่จะมีผลงานการกำกับฯเป็นเรื่องแรก คือ ท้าฟ้าลิขิต ในปี ค.ศ. 1997 ซึ่งเป็นภาพยนตร์ไทย จากการอำนวยการสร้างของกันตนา และมีชื่อเสียงมากยิ่งขึ้นเมื่อผลงานภาพยนตร์เรื่องที่สอง คือ คนเห็นผี ประสบความสำเร็จอย่างมาก ขณะที่แดนนี่เป็นน้องชาย จะมีผลงานทางด้านการตัดต่อมากกว่า มีผลงานการตัดต่อมากมายและได้รับรางวัลต่าง ๆ อาทิ The Storm Riders ในปี ค.ศ. 1998 และInfernal Affairs ในปี ค.ศ. 2002 ชีวิตส่วนตัว ออกไซด์สมรสกับแองเจลิกา ลี นักแสดงชาวมาเลเซี.

พี่น้องตระกูลแปงและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · พี่น้องตระกูลแปงและรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

จิระ มะลิกุล

ระ มะลิกุล หรือ เก้ง (24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 -) เป็นผู้กำกับ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ชาวไทย และเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการบริหารหอภาพยนตร์ โดยปัจจุบันมีผลงานการกำกับภาพยนตร์สี่เรื่อง คือ 15 ค่ำ เดือน 11, มหา'ลัยเหมืองแร่, รัก 7 ปี ดี 7 หน (ตอน 42.195) และ พรจากฟ้า (ตอน พรปีใหม่) รวมทั้งเป็นผู้เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง สตรีเหล็ก ซึ่งเป็นผลงานที่เริ่มสร้างชื่อในนาม "หับ โห้ หิ้น".

จิระ มะลิกุลและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · จิระ มะลิกุลและรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

15 ค่ำ เดือน 11

15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายเมื่อ11 ตุลาคม พ.ศ. 2545 เป็นผลงานกำกับเรื่องแรกของ จิระ มะลิกุล เป็นภาพยนตร์ที่สร้างมาจากความเชื่อ ของชาวท้องถิ่นในแถบอีสาน เกี่ยวกับปรากฏการณ์บั้งไฟพญานาค ซึ่งเป็นการเรียกขานลูกไฟประหลาดสีชมพูจำนวนมาก ที่พวยพุ่งขึ้นจากลำน้ำโขง ในคืนวันออกพรรษา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี โดยลูกไฟนั้นไม่มีกลิ่น ไม่มีเสียง พุ่งขึ้นสูงประมาณ 20-30 เมตร แล้วก็หายไป โดยไม่มีการโค้งลงมา เช่นเดียวกับไฟที่เกิดจากพลุทั่วไป และเกิดขึ้นเป็นจำนวนไม่แน่นอน ในท้องที่อำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย 15 ค่ำ เดือน 11 เป็นภาพยนตร์อื้อฉาวแห่งปี..

15 ค่ำ เดือน 11และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 · 15 ค่ำ เดือน 11และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12 มี 31 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 125 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 1.92% = 3 / (31 + 125)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 12และรายชื่อผู้ได้รับรางวัลบทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »