โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 vs. รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

ีมอบรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 ประจำปี.. รายชื่อนักแสดง ที่ได้รับรางวัลนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รายละเอียดในแต่ละปี ประกอบด้วย ผู้ชนะในปีนั้น เน้นด้วย ตัวหนา ตามด้วยผู้เข้าชิงในแต่ละปี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ยชไมพร จตุรภุชรัญญา ศิยานนท์วิถีคนกล้าอังคณา ทิมดีจันทร์จิรา จูแจ้งจิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์จินตหรา สุขพัฒน์ทวิภพปวีณา ชารีฟสกุลปุกปุยแรงฤทธิ์พิศวาสเวลาในขวดแก้ว

บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย

ญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ย หรือ บุญชู ภาค 6 เป็นภาพยนตร์ไทย ออกฉายเมื่อปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย บัณฑิต ฤทธิ์ถกล โดยค่ายไฟว์สตาร์โปรดักชั่น นำแสดงโดย สันติสุข พรหมศิริ จินตหรา สุขพัฒน์ จักรกฤษณ์ อำมะรัตน์ รัญญา ศิยานนท์ สุเทพ ประยูรพิทักษ์ ปรารถนา สัชฌุกร วัชระ ปานเอี่ยม เกียรติ กิจเจริญ กฤษณ์ ศุกระมงคล เกรียงไกร อมาตยกุล อรุณ ภาวิไล จุรี โอศิริ สุลาลีวัลย์ สุวรรณทัต ชาลี อินทรวิจิตร สมเกียรติ คุณานิธิพงศ์ กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ พรทิพย์ ประเสริฐยิ่ง.

บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · บุญชู 6 โลกนี้ดีออก สุดสวย น่ารักน่าอยู่ ถ้าหงุ่ยและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ชไมพร จตุรภุช

มพร จตุรภุช เกิดเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2506 เป็นนักแสดงชาวไทย เริ่มจากเข้าประกวดนางสาวไทยเมื่อปี..

ชไมพร จตุรภุชและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · ชไมพร จตุรภุชและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัญญา ศิยานนท์

รัญญา ศิยานนท์ (ชื่อจริง: อรัญญา เอกโกศิยนนท์; ชื่อเล่น: บุ๋ม; เกิด 11 ตุลาคม พ.ศ. 2511) เป็นนักแสดงและผู้กำกับการแสดงชาวไท.

รัญญา ศิยานนท์และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · รัญญา ศิยานนท์และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

วิถีคนกล้า

วิถีคนกล้า เป็นภาพยนตร์ไทยที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2534 กำกับโดย ยุทธนา มุกดาสนิท ซึ่งสร้างจากบทประพันธ์ชื่อเรื่องเดียวกันของ มาลา คำจันทร์(นักกวีซีไรต์) นำแสดงโดย นรินทร์ ทองคำ, ณหทัย พิจิตรา, ธิศวรรณ สุวรรณโพธิ์, จรัล มโนเพ็ชร และ พุฒิชัย (อครา) อมาตยกุล โดยมีประโยคจั่วหัวของเรื่องคือ "ทำให้คนอื่นกลัว ทำให้ไม่กลัวคนอื่น" ภาพยนตร์ได้รับรางวัลมากมายจาก 3 สถาบัน แต่กลับไม่ประสบผลสำเร็จในแง่รายได้ ถึงแม้จะเป็นภาพยนตร์ที่ลงทุนสูงที่สุดในรอบปี.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และวิถีคนกล้า · รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและวิถีคนกล้า · ดูเพิ่มเติม »

อังคณา ทิมดี

อังคณา ทิมดี (ชื่อเล่น แอน) เกิดเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2507 นางแบบ, นักแสดง และนักร้อง เกิดที่จังหวัดกรุงเทพฯ โดยมีพ่อเป็นชาวพม่าเชื้อสายแขก และแม่เป็นชาวไทย เป็นคุณครูสอนอยู่โรงเรียนวัดดอนและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ปัจจุบันเกษียณอายุราชการ มีน้องชายสองคน น้องชายคนโตเสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุทางรถยนต์ อังคณา ทิมดี จบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพการบัญชี เริ่มเข้าสู่วงการเมื่ออายุ 18 ปีจากการเข้าประกวดเวทีการประกวด Miss Bachelor ของ Bachelor Club และได้คว้าตำแหน่งอันดับสอง จากนั้นจึงได้เซ็นสัญญาเป็นนางแบบในสังกัดของคลับหนึ่งปี และมีผลงานถ่ายแบบ เดินแบบ รวมทั้งงานโฆษณาต่างๆ มากมาย ไม่ว่าเป็น โกดัก, ยาสระผมเฟลกซ์, รถซูซูกิ, ชุดว่ายน้ำไทรอัมพ์, เสื้อผ้า LTD รถยนต์ไดฮัทสุ มิร่า, เครื่องสำอางคาเนโบฯ และที่สร้างชื่อเสียงให้กับเธอที่สุด คือโฆษณาเนสกาแฟ เอ็กตร้า เชค ในช่วงฤดูร้อนปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และอังคณา ทิมดี · รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและอังคณา ทิมดี · ดูเพิ่มเติม »

จันทร์จิรา จูแจ้ง

ันทร์จิรา จูแจ้ง เกิดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2510 (บางข้อมูลระบุว่า เกิด พ.ศ. 2510) เป็นนักแสดง ผู้ผลิตรายการ และผู้จัดละคร ชาวไทย จบมัธยมศึกษาจาก โรงเรียนบดินทรเดชา(สิงห์ สิงหเสนี)จบการศึกษาจากเซนต์จอห์นอาชีวศึกษา ต่อมาทำงานเป็นพนักงานประจำของการประปาส่วนภูมิภาค ตำแหน่งเสมียน ได้งานชิ้นแรกเป็นโฆษณานีเวีย ถ่ายเฉพาะมือ ต่อมาก้าวสู่การเป็นนางแบบโฆษณา และเป็นนักแสดง โดยเริ่มแสดงภาพยนตร์เรื่อง "รักแรกอุ้ม" ในบทคุณแม่ยังสาว คู่กับ ขจรศักดิ์ รัตนนิสสัย ตามด้วย "พริกขี้หนูกับหมูแฮม", "ทวิภพ", "ต้องปล้น" ฯลฯ และมีผลงานละครอย่างเรื่อง "นาคราช", "ด้วยสองมือแม่นี้ที่สร้างโลก", "จับตายวายร้ายสายสมร", "ท่านชายกำมะลอ", "รักสุดท้ายที่ปลายฟ้า", "ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด", "นางร้าย", "เจ้านายวัยกระเตาะ", "รถด่วนขบวนสุดท้าย", "นารีสโมสร" ฯลฯ นอกจากนี้ยังเปิดบริษัท ดวงมาลี มณีจันทร์ ทำรายการกับช่อง 3 อย่าง "สตรอเบอร์รี่ ชีสเค้ก" ต่อมาทำละครเรื่องแรก "นางสาวผ้าขี้ริ้ว" ตามมาด้วยเรื่อง "ก๊วนกามเทพ" "เรือนริษยา" และเรื่องล่าสุด เฮฮาเมียนาวี จันทร์จิรา จูแจ้ง เคยได้รับรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ สาขานักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม จากการแสดงในเรื่อง ต้องปล้น.

จันทร์จิรา จูแจ้งและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · จันทร์จิรา จูแจ้งและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

จิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์

ตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์ เกิดเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2514 เป็นอดีตนักแสดง และผู้ประกาศรายการทางช่อง 7 มีผลงานสร้างชื่อเสียงจากละครกันตนาหลายเรื่อง กับภาพยนตร์เรื่อง เวลาในขวดแก้ว เมื่อปี..

จิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · จิตต์โสภิณ ลิมปิสวัสดิ์และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

จินตหรา สุขพัฒน์

นตหรา สุขพัฒน์ หรือ แหม่ม มีชื่อเดิมว่า จิตติมาฆ์ สุขพัฒน์ และชื่อจริงว่า จิตติ์ธนิษา สุขขะพัฒน์ เป็นนางเอกและนักแสดงชาวไทยที่ได้รับความนิยมสูงสุดระหว่าง..

จินตหรา สุขพัฒน์และรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · จินตหรา สุขพัฒน์และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ทวิภพ

ละครโทรทัศน์ ทวิภพ พ.ศ. 2537 ทวิภพ เป็นชื่อหนึ่งในบทประพันธ์ที่มีชื่อเสียงของ "ทมยันตี" ตีพิมพ์ลงในนิตยสารสกุลไทย ใช้เวลา 2 ปี ที่นำเสนอเรื่องราวของความรักต่างภพ ระหว่างอดีตและปัจจุบันมาบรรจบกัน โดยมีเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองมาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้มีอรรถรส ในการอ่านให้ดูเข้มขึ้น บทประพันธ์ชิ้นนี้ คุณทมยันตี ได้ใส่รายละเอียดของความเป็นอยู่ของบุคคลในสมัยเก่าได้อย่างแนบเนียนยิ่ง เป็นนวนิยายรักที่แฝงไปด้วยเรื่องของประวัติศาสตร์บ้านเมืองและเกร็ดความรู้ทางด้านความเป็นอยู่ของบุคคลสมัยนั้นเป็นอย่างดี ถึงแม้เยาวชนหรือวัยรุ่นอ่านก็เหมาะสม เพราะไม่ได้มีความรักที่เป็นเรื่องราวของทาง "เพศ" แต่เป็นเรื่องราวความรักที่มีความผูกพันข้ามชาติที่ดูลึกซึ้ง.

ทวิภพและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · ทวิภพและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปวีณา ชารีฟสกุล

ปวีณา ชารีฟสกุล เกิดเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2509 เป็นนักร้อง นักแสดงชาวไทย เป็นบุตรคนที่ 2 ของนายชูศักดิ์ และนางวิภาวัลย์ ชารีฟสกุล จบการศึกษาจากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จากนั้นศึกษาต่อที่โรงเรียนอาชีวศิลป์ศึกษา เธอเข้าไปสมัครเล่นเกมโชว์ ในรายการ เอาไปเลย ดำเนินรายการโดยไตรภพ ลิมปพัทธ์ ซึ่งไตรภพเห็นว่ามีหน่วยก้านดีจึงชักชวนมาเป็นผู้ช่วยพิธีกร แต่ทำได้เพียงเดือนกว่ากันตนาก็ชักชวนเธอไปเล่นละคร แสดงเรื่องแรกคือ แม่น้ำ และแสดงอีกหลายเรื่องเช่นเรื่อง ลูกแม่ ต่อจากนั้นอิทธิ พลางกูรชักชวนเธอทำผลงานเพลง ออกผลงานชุด นัดกันแล้ว และ นี่แหละตัวฉัน กับค่ายครีเอเทีย ได้รับการตอบรับพอสมควร ในเวลาต่อมาค่ายเพลงที่เธอสังกัดอยู่ก็ประสบปัญหาจึงปิดตัวไป ทำให้เธอต้องหยุดผลงานเพลงเช่นเดียวกัน ต่อมาเธอโอนไปสังกัด เอสพี ศุภมิตร และออกผลงานอัลบั้มชุด ไม่ใช่ของเล่น ที่มียอดขายกว่าแสนตลับ ส่วนด้านการแสดง เธอได้รับบทบาทที่หลากหลายทั้งบทนำ และบทรอง แต่ความสำเร็จในอาชีพการแสดงของเธอนั้นมาถึงเมื่อเธอได้รับการเสนอเข้าชิงในสาขาดาราประกอบฝ่ายหญิง ทั้งจากงานตุ๊กตาทองและงานภาพยนตร์แห่งชาติ จากผลงานการแสดงเรื่อง คนทรงเจ้า และต่อมาเธอก็ได้รับรางวัลด้านการแสดงสาขานางเอกนำดีเด่น จากงานภาพยนตร์แห่งชาติครั้งที่ 1 และ ได้รับรางวัลแสดงนำฝ่ายหญิงยอดเยี่ยม จากรางวัลชมรมวิจารณ์บันเทิง จากภาพยนตร์ เวลาในขวดแก้ว ผลงานแสดงในยุคหลังเธอยังแสดงใน ตำนานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และภาพยนตร์ ลองของ 2.

ปวีณา ชารีฟสกุลและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · ปวีณา ชารีฟสกุลและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

ปุกปุย

ปุกปุย เป็นภาพยนตร์ไทย ผลงานการกำกับโดยอุดม อุดมโรจน์ ออกฉายในปี พ.ศ. 2533 ภาพยนตร์ทำรายได้ 8 ล้านบาท และยังได้รับรางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยมจากชมรมวิจารณ์บันเทิง รางวัลผู้แสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม จากชมรมวิจารณ์บันเทิง รางวัลดนตรีประกอบยอดเยี่ยมจากสมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงแห่งประเทศไทย (รางวัลตุ๊กตาทอง) รางวัลภาพยนตร์ยอดเยี่ยมสาขาส่งเสริมครอบครัวจากสื่อมวลชนคาทอลิคแห่งประเทศไทย นอกจากนั้นยังเป็นตัวแทนภาพยนตร์ไทยเข้าร่วมในโครงการสัปดาห์ภาพยนตร์อาเซียนครั้งที่ 3 ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นตัวแทนภาพยนตร์ไทยเข้าร่วมประกวดในงานโตเกียวอินเตอร์เนชันนอลฟิล์มเฟสติวัล 1991 ที่ประเทศญี่ปุ่น"10 ปี ไท เอนเตอร์เทนเม้นท์", นิตยสารอานนท์ ฉบับธันวาคม 2536-มกราคม 2537 หน้า 152-157.

ปุกปุยและรางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 · ปุกปุยและรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย · ดูเพิ่มเติม »

แรงฤทธิ์พิศวาส

แรงฤทธิ์พิศวาส 2549 แรงฤทธิ์พิศวาส เป็นละครแนวดราม่า จากบทประพันธ์และบทโทรทัศน์ของ คนหลังม่าน กำกับการแสดงโดย อนุวัฒน์ ถนอมรอด ออกอากาศเมื่อ 20 ธันวาคม 2549 – 31 มกราคม 2550 ทุกวัน พุธ-พฤหัสบดี เวลา 20.30น.

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และแรงฤทธิ์พิศวาส · รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและแรงฤทธิ์พิศวาส · ดูเพิ่มเติม »

เวลาในขวดแก้ว

วลาในขวดแก้ว เป็นนวนิยายไทยของ ประภัสสร เสวิกุล มีเนื้อหาสะท้อนชีวิตและปัญหาของวัยรุ่นในด้านต่างๆ ทั้งครอบครัว ความรัก การศึกษา สังคม และการเมือง จัดพิมพ์เป็นพ็อคเก็ตบุ๊คครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2528 จนกระทั่งปี พ.ศ. 2534 ได้มีการสร้างเป็นภาพยนตร์ไทย โดย ประยูร วงศ์ชื่น นำแสดงโดย นฤเบศร์ จินปิ่นเพชร, ปวีณา ชารีฟสกุล และ วาสนา พูนผล ภาพยนตร์ประสบความสำเร็จทั้งรายได้และคำนิยม โดยได้รับรางวัลจากสองสถาบันคือ รางวัลสมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ. 2534 จำนวน 4 รางวัล และรางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง ครั้งที่ 2 ประจำปี..

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และเวลาในขวดแก้ว · รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทยและเวลาในขวดแก้ว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย

รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1 มี 53 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย มี 415 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 2.78% = 13 / (53 + 415)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 1และรายชื่อนักแสดงประกอบหญิงยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »