ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม
รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บัลลังก์เมฆสุดแค้นแสนรักข้าบดินทร์นางชฎาI Wanna Be Sup'Tar วันหนึ่งจะเป็นซุปตาร์
บัลลังก์เมฆ
ัลลังก์เมฆ เป็นบทประพันธ์โดย วาณิช จรุงกิจอนันต์ และ ยุทธนา มุกดาสนิท ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์และละครเวทีมาแล้วหลายครั้งด้วยกัน โดยครั้งแรกสร้างเป็นละครโทรทัศน์ ในปี พ.ศ. 2536 ผลิตโดย บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด กำกับการแสดงโดย สุพล วิเชียรฉาย นำแสดงโดย ภัทราวดี มีชูธน, สมบัติ เมทะนี, สรพงษ์ ชาตรี, กรุง ศรีวิไล ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2536 – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 ต่อมา บริษัท ซีเนริโอ จำกัด นำกลับมาสร้างเป็นละครเวที ในชื่อ "บัลลังก์เมฆ เดอะมิวสิคัล" กำกับโดย ถกลเกียรติ วีรวรรณ นำแสดงโดย สินจัย เปล่งพานิช, ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี, ภาณุเดช วัฒนสุชาติ, กลศ อัทธเสรี เปิดการแสดงแล้ว 3 ครั้ง ในปี..
บัลลังก์เมฆและรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 · บัลลังก์เมฆและรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม ·
สุดแค้นแสนรัก
แค้นแสนรัก เป็นบทประพันธ์ของ จุฬามณี (นิพนธ์ เที่ยงธรรม) นำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างโดย บริษัท เมคเกอร์ เค จำกัด กำกับการแสดงโดย กฤษณ์ ศุกระมงคล และ อดุลย์ ประยันโต นำแสดงโดย รัดเกล้า อามระดิษ พรชิตา ณ สงขลา มนัสนันท์ พันเลิศวงศ์สกุล พัชฏะ นามปาน วรฤทธิ์ เฟื่องอารมย์ เริ่มถ่ายทำในเดือนมกราคม..
รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และสุดแค้นแสนรัก · รางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยมและสุดแค้นแสนรัก ·
ข้าบดินทร์
้าบดินทร์ เป็นนวนิยายไทยที่ประพันธ์โดย วรรณวรรธน์ มีเนื้อเรื่องอิงประวัติศาสตร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ซึ่งเป็นยุคสมัยที่ประเทศอังกฤษ หรือที่เรียกว่า "วิลาศ" เข้ามามีบทบาททางการค้ากับประเทศไทยเป็นอย่างมาก แกนหลักของเรื่องถูกถ่ายทอดผ่านเรื่องราวของ เหม บุตรชายแห่งพระยาบริรักษ์กับคุณหญิงชม เด็กหนุ่มที่งดงามทั้งรูปร่างหน้าตา กิริยา วาจาจนได้ชื่อว่า "พ่อเหมรูปทอง" เหมสนใจใฝ่รู้ในภาษาวิลาศและได้แอบไปเรียนกับครูแหม่มบ่อย ๆ เมื่อผู้เป็นพ่อทราบเข้าก็ไม่พอใจเนื่องด้วยไม่ไว้ใจในพวกวิลาศ เหมจึงถูกส่งไปเรียนกับพระครูโพที่วัด ซึ่งที่นั่นทำให้เหมได้เรียนรู้วิชาดาบอาทมาฏติดตัวมาอีกหนึ่งแขนง หลวงสรอรรถ เข้ามาเจรจากับพระยาบริรักษ์ เพื่อขอลดค่าระวางปากเรือให้กับเรือกับปิตันฝรั่ง แต่พระยาบริรักษ์ไม่ยอม อีกทั้งเหมกับบัว หญิงสาวที่หลวงสรอรรถชอบใจ ได้ต้องใจกันตามประสาหนุ่มสาว ทำให้หลวงสรอรรถร่วมมือกับพระยาปลัดสมุทรปราการ ผู้ที่ถูกหลวงสรอรรถกุมความลับว่ามีรสนิยมทางเพศวิปริต ชอบสังวาสกับเด็กหญิงแล้วฆ่าทิ้ง ร่วมมือกันวางแผนใส่ร้ายพระยาบริรักษ์ว่าฆ่า มิสเตอร์เจเมสัน ทำให้ชะตาชีวิตของเหมต้องพลิกผัน พระยาบริรักษ์ตัดสินใจยอมรับตวามผิดทั้งที่ไม่ได้ก่อ เพื่อปกป้องบ้านเมืองไม่ให้เกิดศึกสงคราม ทำให้ทั้งสามต้องโทษโดนริบราชบาตร และปลดยศถาบรรดาศักดิ์ไปเป็นตะพุ่นหญ้าช้างในพระนคร ความตกต่ำของเหมทำให้บัวตัดความสัมพันธ์กับเหมอย่างไม่ใยดี ขณะที่ครอบครัวของบัวไม่กล้ายื่นมือเข้าช่วยเหลือ มีเพียงลำดวน ลูกสาวคนเล็กของขุนนาฏยโกศลซึ่งเป็นน้องสาวของบัว ที่รักและสนิทสนมกับเหมตั้งแต่เด็กจนเป็นสาวรุ่นเท่านั้น ที่ยังให้ความเห็นอกเห็นใจเหม อีกทั้งในวันที่เหมและคุณหญิงชม ผู้เป็นแม่ ถูกแห่ประจานจนกระหายน้ำ ลำดวนก็ได้ซื้อแตงกวาให้คุณหญิงชมทานเพื่อดับกระหาย ทำให้เหมทราบซึ้งในน้ำใจน้องน้อยเป็นอย่างมาก หลังจากที่กลายเป็นตะพุ่นช้าง เหมก็ได้เรียนรู้ศาสตร์แห่งคชสารจากขุนศรีไชยทิตยจนได้เป็นหมอควาญช้าง หรือ "เสดียง" ซึ่งโชคชะตาก็ทำให้เขาได้กลับมาพบกับ "ลำดวน" ซึ่งบัดนี้โตเป็นสาวเต็มตัวและได้นางเอกละครรำแห่งอัมพวาอีกครั้ง ด้วยความประทับใจในความดีงามของลำดวน ได้หล่อหลอมความกับความผูกพันจึงบังเกิดเป็นความรัก แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคนานัปการ ทั้งจากหมื่นวิชิตหนุ่มเจ้าเล่ห์ผู้หมายปองในตัวลำดวน และด้วยฐานะที่แตกต่างของทั้งคู่ เหมจึงพยายามทำทุกอย่างเพื่อไต่เต้าจากตะพุ่นช้างเป็นนายทหารผู้กล้าจนได้เป็นถึง "หลวงสุรบดินทร์" เพื่อพิสูจน์ว่าตนคู่ควรกับหญิงอันเป็นที่รัก ทั้งยังใช้ความรู้ความสามารถ รับราชการสนองพระเดชพระคุณแผ่นดินตามคำสอนสุดท้ายของผู้เป็นพ่อ ที่ว่า "ถึงเจ้าจะเกิดเป็นเศษเสี้ยวธุลีของแผ่นดิน เจ้าจงรู้ว่า แผ่นดินให้อะไรกับเจ้า และตัวเจ้าเองมีความหมายต่อแผ่นดินเพียงใด จงทำตัวเป็นเศษธุลีที่มีค่าของแผ่นดิน เป็นข้าแห่งบดินทร์ อันร้อยรวมศรัทธา ความกล้าหาญ ความรัก ความภักดี ไว้ในดวงใจเดียวกัน" ข้าบดินทร์ ถูกนำมาสร้างเป็นละครโทรทัศน์โดยค่ายทีวีซีน ของ ณัฏฐนันท์ ฉวีวงษ์ ออกแบบเครื่องแต่งกายโดย กิจจา ลาโพธิ์ ออกแบบการต่อสู้โดย ธนาวุฒิ เกสโร ลำดับภาพ วิโรจน์ ภุมวิภาชน์ ลงเสียงประกอบ ปั้น-ปั้น กำกับการแสดงโดย อรรถพร ธีมากร ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 นำแสดงโดย เจมส์ มาร์ ภีรนีย์ คงไทย และ มณีรัตน์ ศรีจรูญ ออกอากาศวันแรก 30 พฤษภาคม 2558.
ข้าบดินทร์และรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 · ข้าบดินทร์และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม ·
นางชฎา
นางชฎา เป็นละครโทรทัศน์ไทยที่สร้างขึ้นจากบทประพันธ์ของ ภาคินัย (ภาคินัย กสิรักษ์) ดัดแปลงเป็นบทโทรทัศน์โดย สวิตตา นำแสดงโดย กันต์ กันตถาวร,ดาวิกา โฮร์เน่,อัทธนียา เอี่ยมวสันต์,ประชากร ปิยะสกุลแก้ว,ทองภูมิ สิริพิพัฒน์,ปรียาดา สิทธาไชย,ญาณิกา ทองประยูร,จักรพันธ์ วงศ์คณิต และนักแสดงมากฝีมืออีกมากมาย กำกับการแสดงโดย มะตูม-ปรีดาภรณ์ บัวตูม และได้ กฤษฎา เตชะนิโลบล มาทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้กำกับการแสดง (เนื่องจากมีปัญหาทางสุขภาพจึงทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยผู้กำกับแทน) สร้างโดย บริษัท โพลีพลัส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด อำนวยการผลิตโดย อรพรรณ วัชรพล ลงเสียงประกอบโดย ห้องเสียงประเสริฐ เริ่มตอนแรกวันที่ 25 มีนาคม..
นางชฎาและรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 · นางชฎาและรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม ·
I Wanna Be Sup'Tar วันหนึ่งจะเป็นซุปตาร์
I Wanna Be Sup'Tar วันหนึ่งจะเป็นซุปตาร์ ผลิตโดย บริษัท เก้ง กวาง แก๊งค์ จำกัด ออกอากาศทุกวันจันทร์ อังคาร เวลา 20.00 - 21.00 น. เริ่มตอนแรกวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558 ทางช่อง จีเอ็มเอ็ม 25.
I Wanna Be Sup'Tar วันหนึ่งจะเป็นซุปตาร์และรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 · I Wanna Be Sup'Tar วันหนึ่งจะเป็นซุปตาร์และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม
การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม
รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 มี 96 ความสัมพันธ์ขณะที่ รางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม มี 74 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 2.94% = 5 / (96 + 74)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7และรางวัลนาฏราช สาขาละครยอดเยี่ยม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: