เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ vs. รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ริเริ่มให้มี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี.. ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการสถาปนาเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2459 ได้ผลิตบัณฑิตในสาขาต่าง ๆ ออกมาเป็นจำนวนมาก โดยคณาจารย์ นิสิตเก่า และนิสิตปัจจุบัน จากมหาวิทยาลัยนั้น มีบุคคลสำคัญในด้านต่าง ๆ ของประเทศ ในทุกสาขาอาชีพ ทั้งในด้านวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ข้าราชการ วงการกีฬา วงการสื่อสารมวลชน นักแสดง นักร้อง เป็นต้น ซึ่งมีรายพระนามและรายนาม ดังนี้ 150px.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 29 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2535พ.ศ. 2549พ.ศ. 2550พ.ศ. 2554มหาวิทยาลัยมหิดลมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยศิลปากรมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยนเรศวรมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาวิทยาลัยเชียงใหม่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นวรชาติ สิรวราภรณ์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติสุพจน์ หารหนองบัวสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังอภิวัฒน์ มุทิรางกูรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

พ.ศ. 2535

ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.

พ.ศ. 2535และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · พ.ศ. 2535และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2549

ทธศักราช 2549 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2006 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2549และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · พ.ศ. 2549และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2550

ทธศักราช 2550 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2007 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2550และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · พ.ศ. 2550และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2554

ทธศักราช 2554 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2011 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2554และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · พ.ศ. 2554และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยมหิดล

มหาวิทยาลัยมหิดล (Mahidol University; ชื่อย่อ: ม.มหิดล / MU) เป็นสถาบันที่มีที่มาจากการเป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า โรงเรียนแพทยากร ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี..

มหาวิทยาลัยมหิดลและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยมหิดลและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ (Walailak University; อักษรย่อ:มวล.) เป็นมหาวิทยาลัยรัฐ จัดตั้งตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ..

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University; ชื่อย่อ: มศก. – SU) เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะแห่งแรกในประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านศิลปะและการออกแบบ ปัจจุบันเปิดสอนครอบคลุมทุกสาขาวิชา ทั้งกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัยสากลอย่างสมบูรณ์ ถือกำเนิดจาก "โรงเรียนประณีตศิลปกรรม สังกัดกรมศิลปากร" ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พัฒนาขึ้นเป็นลำดับจนเป็น "โรงเรียนศิลปากร" และเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม..

มหาวิทยาลัยศิลปากรและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยศิลปากรและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ.) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ของประเทศไทย ตาม ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานชื่อเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 จึงถือว่าวันที่ 22 กันยายนของทุกปี เป็นวันสงขลานครินทร์ ได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ในปี..

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยขอนแก่น

มหาวิทยาลัยขอนแก่น (อังกฤษ: Khon Kaen University; อักษรย่อ: มข.) เดิมชื่อมหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาล และเป็นมหาวิทยาลัยเก่าแก่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น มีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงประกอบพิธีเปิดเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม..

มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยขอนแก่นและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยนเรศวร

มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ "มหาวิทยาลัยนเรศวร" นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน มหาวิทยาลัยนเรศวรได้รับการจัดอันดับในด้านการวิจัยให้เป็นมหาวิทยาลัยระดับดีเยี่ยมและเป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 9 ของประเทศไทย จากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อปี พ.ศ. 2549 หนังสือพิมพ์ข่าวสด วันที่ 1 กันยายน 2549 และได้รับการจัดอันดับโดย เว็บโอเมตริกซ์ (Webometrics) เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 ให้อยู่ในอันดับที่ 605 ของโลก อันดับที่ 15 ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอันดับที่ 9 ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นศูนย์กลางการศึกษาในภูมิภาคภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทย โดยมีการเรียนการสอนครอบคลุมครบทุกสาขาวิชาทั้งสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รวมทุกระดับการศึกษาทั้งสิ้น 184 หลักสูตร มีจำนวนนิสิตประมาณ 22,200 คน และมีอาจารย์ประจำกว่า 1,400 คน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในช่วงเดือนธันวาคม โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์มาทรงประกอบพิธีสำคัญต่าง ๆ ในกิจการของมหาวิทยาลัยนเรศวร.

มหาวิทยาลัยนเรศวรและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยนเรศวรและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐบาลตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน..

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อังกฤษ: Chiang Mai University; อักษรย่อ: มช.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ โดยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทยที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาค ตามโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูม..

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อังกฤษ: Kasetsart University; อักษรย่อ: มก.) เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกของประเทศไทยที่เปิดสอนหลักสูตรทางด้านการเกษตร ก่อตั้งขึ้นเป็นลำดับที่ 3 ของประเทศ เดิมเป็นโรงเรียนช่างไหมในปี..

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ บางมด (อังกฤษ: King Mongkut's University of Technology Thonburi; อักษรย่อ: มจธ.) โดยเป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ และเป็น สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตามประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 11 ก ลงวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในด้าน วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, เทคโนโลยี, สถาปัตยกรรมศาสตร์ เดิมชื่อ วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ตามลำดับ ปัจจุบันเปิดสอนใน 8 คณะ, 1 สถาบัน, 1 บัณฑิตวิทยาลัย และ 1 บัณฑิตวิทยาลัยร่วม โดยมีทั้งหลักสูตรปกติ และนานาชาติ ในระดับปริญญาตรี, โท และเอก ซึ่งมี 3 วิทยาเขต และ 1 อาคาร คือ วิทยาเขตบางมด, วิทยาเขตบางขุนเทียน, วิทยาเขตราชบุรี และอาคารเคเอ็กซ์ คลองสาน.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (Mahanakorn University of Technology) เป็นสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ตั้งอยู่ที่ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (อังกฤษ: Suranaree University of Technology; อักษรย่อ: มทส.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนครราชสีมา ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โดยได้มีการยกฐานะจาก "วิทยาลัยสุรนารี" ในสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ทำการจัดการเรียนการสอนครอบคลุมสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ใน 7 สำนักวิชาและ 1 สถาบันสมทบ โดยมีหลักสูตรในระดับปริญญาตรี 32 หลักสูตร ปริญญาโท 34 หลักสูตร และปริญญาเอก 28 หลักสูตร (ข้อมูลในปีการศึกษา 2553) นอกจากนี้ยังเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคณาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอกคิดเป็นร้อยละสูงที่สุดในประเทศไทย (ร้อยละ 80.21) และเป็นมหาวิทยาลัยที่มีผลงานวิจัยต่อหัวคณาจารย์สูงที่สุดในประเทศไท.

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามเมธีวิจัยอาวุโส สกว. · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ริเริ่มให้มี รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี..

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นรางวัลเพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่น โดยจะประกาศรางวัลในต้นเดือนสิงหาคมของทุกปี และมอบรางวัลในวันที่ 18 สิงหาคม ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" โดยถือเป็นที่ยอมรับในวงการวิชาการว่ารางวัลนี้เป็นรางวัลสูงสุดของประเทศสำหรับนักวิทยาศาสตร์พื้นฐานและนักวิทยาศาสตร์ประยุกต์ โดยมีรางวัลเป็นโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเงินรางวัล 200,000-400,000 บาท พระราชทานโดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 18 สิงหาคม ของทุกปี ซึ่งเป็น "วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ" ที่งานมหกรรมวิทยาศาสตร์แห่งชาติพร้อมกันกับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ รางวัลนี้สนับสนุนโดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ สวท.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มโครงการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ขึ้นเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2543 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเชิดชูเกียรตินักเทคโนโลยีที่มีผลงานดีเด่น ไม่ว่าจะเป็นนักเทคโนโลยีของรัฐหรือภาคเอกชน เพื่อจูงใจให้มีนักวิชาการและนักพัฒนาเทคโนโลยีของไทยที่มีความสามารถสูงจำนวนมากขึ้น และหันมาช่วยกันพัฒนาเทคโนโลยีของไทยให้สามารถแข่งขันในเชิงอุตสาหกรรมและเชิงพาณิชย์ในโลกได้โดยเร็ว และหวังจะก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีไทยในอนาคตในอัตราที่สูงขึ้น ซึ่งจะทำให้ประเทศไทยมีความจำเป็นน้อยลงที่จะต้องพึ่งพาและซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศต่อไป พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้สร้างพระบรมรูปขณะทรงเรือใบซูเปอร์มดหล่อด้วยบรอนซ์ สำหรับมอบเป็นรางวัลแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และเหรียญรางวัลแก่นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติของทุกปี รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น · รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

วรชาติ สิรวราภรณ์

ตราจารย์ ดร. วรชาติ สิรวราภรณ์ ศาสตราจารย์ วรชาติ สิรวราภรณ์ เกิดวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2498 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย ที่มีความเชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านชีวเคมีและอณูชีววิทยาของเชื้อมาลาเรีย โดยศึกษากลไกการเกิดโรค กลไกการทำงานของยาต้านมาลาเรีย และกลไกการดื้อยาในระดับยีน เป็นผู้หนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย สาขาชีวสารสนเทศศาสตร์ (Bioinformatics) ของประเทศไทย โดยเป็นผู้ริเริ่มจัดตั้งศูนย์ชีวสารสนเทศและจีโนมประยุกต์ (Center for Bioinformatics and Applied Genomics - CBAG) ซึ่งเป็นหน่วยฝึกอบรมด้านชีวสารสนเทศศาสตร์ ประจำภูมิภาคเอเซีย ที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์การอนามัยโลก.ดร.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และวรชาติ สิรวราภรณ์ · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรชาติ สิรวราภรณ์ · ดูเพิ่มเติม »

วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์

ตราจารย์ นายแพทย์วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ (29 พฤษภาคมพ.ศ. 2512-) ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเวชพันธุศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย,นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและวรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) เป็นองค์การมหาชนในกำกับของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีหน้าที่พัฒนาขีดความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยดำเนินกิจกรรมด้านถ่ายทอดเทคโนโลยี การพัฒนาบุคลากร และการเสริมสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นตามมาตร 11 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาต..

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สุพจน์ หารหนองบัว

.สุพจน์ หารหนองบัว หรือ.ดร.สุพจน์ หารหนองบัว นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสภาการศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการสื่อสาร และคณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกิดเมื่อวันที่ 13 เมษายน..

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และสุพจน์ หารหนองบัว · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสุพจน์ หารหนองบัว · ดูเพิ่มเติม »

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง · ดูเพิ่มเติม »

อภิวัฒน์ มุทิรางกูร

ตราจารย์ นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร (Apiwat Mutirangura) อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปี 2549 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นของไทย ประจำปี 2551 และเมธีวิจัยอาวุโส สกว.

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และอภิวัฒน์ มุทิรางกูร · รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอภิวัฒน์ มุทิรางกูร · ดูเพิ่มเติม »

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นมหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตปทุมวัน กรุงเทพมหานครราชกิจจานุเบกษ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ หมายถึง นักวิจัยที่ได้รับเชิดชูเกียรติจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มีการมอบรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528 โดยมอบให้แก่นักวิจัยซึ่งได้อุทิศตนให้กับการวิจัยในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่อง ในกลุ่มวิชาการ หรือสหวิทยาการอย่างต่อเนื่อง มีผลงานวิจัยดีเด่นที่แสดงถึงความคิดริเริ่มและเป็นผลงานวิจัยที่ทำสะสมกันมาเป็นเวลาตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ทั้งเป็นผู้ที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเป็นที่ยอมรับและยกย่องในวงวิชาการนั้นๆ สมควรเป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยผู้อื่นได้ ในอันที่จะทุ่มเทกำลังใจ และสติปัญญาในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีคุณประโยชน์แก่ประเทศชาต.

นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ · นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติและรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มี 74 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี 957 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 29, ดัชนี Jaccard คือ 2.81% = 29 / (74 + 957)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่และรายนามบุคคลจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: