ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย มี 58 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชวลิต ยงใจยุทธพ.ศ. 2475พ.ศ. 2476พ.ศ. 2481พ.ศ. 2487พ.ศ. 2489พ.ศ. 2491พ.ศ. 2506พ.ศ. 2516พ.ศ. 2518พ.ศ. 2519พ.ศ. 2529พ.ศ. 2533พ.ศ. 2535พ.ศ. 2538พ.ศ. 2539พ.ศ. 2545พ.ศ. 2547พ.ศ. 2548พ.ศ. 2557พระมหากษัตริย์ไทยพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชกฤษณ์ สีวะรารายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทยรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทยรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย...สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดชสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิตสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์สฤษดิ์ ธนะรัชต์สุจินดา คราประยูรหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)ถนอม กิตติขจรประวิตร วงษ์สุวรรณแปลก พิบูลสงครามเชษฐา ฐานะจาโรเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)เปรม ติณสูลานนท์1 สิงหาคม1 เมษายน11 ธันวาคม15 เมษายน18 มิถุนายน24 สิงหาคม28 มิถุนายน28 มีนาคม29 มีนาคม3 สิงหาคม31 มีนาคม5 สิงหาคม8 พฤศจิกายน8 ธันวาคม8 เมษายน ขยายดัชนี (28 มากกว่า) »
ชวลิต ยงใจยุทธ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก ชวลิต ยงใจยุทธ (15 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 —) เป็นนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย คนที่ 22 อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม อดีตผู้บัญชาการทหารบกและอดีดรักษาการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นเจ้าของสมญา "ขงเบ้งแห่งกองทัพบก" เคยได้รับการแต่งตั้งให้เป็น สมาชิกวุฒิสภา ขณะดำรงตำแหน่งทางทหาร เป็นผู้ก่อตั้ง และหัวหน้า พรรคความหวังใหม่ คนแรก และเป็นอดีต..หลายสมัย มีคะแนนเสียงหนาแน่นในจังหวัดนครพนม สื่อมวลชนและประชาชนทั่วไป เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "บิ๊กจิ๋ว" และในพื้นที่ภาคอีสาน เรียก พล.อ.ชวลิต ว่า "พ่อใหญ่จิ๋ว" นอกจากนี้แล้วยังมีอีกฉายาหนึ่งว่า "จิ๋วหวานเจี๊ยบ" จากการมีบุคลิกพูดจาอ่อนนิ่ม นุ่มนวล.
ชวลิต ยงใจยุทธและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ชวลิต ยงใจยุทธและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2475
ทธศักราช 2475 ตรงกั.
พ.ศ. 2475และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2475และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2476
ทธศักราช 2476 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1933.
พ.ศ. 2476และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2476และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2481
ทธศักราช 2481 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1938.
พ.ศ. 2481และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2481และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2487
ทธศักราช 2487 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1944 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2487และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2487และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2489
ทธศักราช 2489 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1946 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2489และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2489และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2491
ทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948.
พ.ศ. 2491และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2491และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2506
ทธศักราช 2506 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1963 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2506และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2506และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2516
ทธศักราช 2516 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1973 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2516และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2516และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2518
ทธศักราช 2518 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1975 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2518และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2518และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2519
ทธศักราช 2519 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1976 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดี ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2519และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2519และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2529
ทธศักราช 2529 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1986 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2529และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2529และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2533
ทธศักราช 2533 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1990 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2533และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2533และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2535
ทธศักราช 2535 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1992 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2535และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2535และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2538
ทธศักราช 2538 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1995 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2538และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2538และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2539
ทธศักราช 2539 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1996 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2539และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2539และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2545
ทธศักราช 2545 V 2002 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2002 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน.
พ.ศ. 2545และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2545และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2547
ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.
พ.ศ. 2547และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2547และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2548
ทธศักราช 2548 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2005 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรโกเรียน และเป็น.
พ.ศ. 2548และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2548และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พ.ศ. 2557
ทธศักราช 2557 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2014 วันแรกของปีตรงกับวันพุธตามปฏิทินเกรกอเรียน นับเป็นปีที่ 2014 ตามกำหนดสากลศักราช และปีที่ 2557 ตามกำหนดพุทธศักร.
พ.ศ. 2557และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พ.ศ. 2557และรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พระมหากษัตริย์ไทย
ระมหากษัตริย์ไทย เป็นประมุขของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และประชาธิปไตย ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์จะลดลงหลังจากการปฏิวัติเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถูกจำกัดโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์ก็ยังคงได้รับความเคารพนับถือจากประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 กับทั้งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับว่า พระมหากษัตริย์ "ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้" นอกจากนั้น พระมหากษัตริย์ยังทรงได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายอาญา ทำให้การวิพากษ์วิจารณ์พระองค์เป็นความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขแห่งรัฐ ทรงใช้อำนาจอธิปไตยผ่านคณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล ทรงเป็นจอมทัพไทย พุทธมามกะ และอัครศาสนูปถัมภก มีพระราชอำนาจสถาปนาและพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์กับฐานันดรศักดิ์ พระราชทานอภัยโทษ ประกาศสงครามและสงบศึก รวมตลอดถึงพระราชอำนาจอื่น ๆ ซึ่งจะทรงใช้ได้ก็แต่โดยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนดไว้ ยกเว้นพระราชอำนาจบางประการที่ทรงใช้ได้ตามพระราชอัธยาศัย คือ ตั้งและถอดองคมนตรีกับบรรดาข้าราชการในพระองค์ พระมหากษัตริย์ไทยแห่งราชวงศ์จักรี และเป็นประมุขราชวงศ์จักรี มีที่ประทับอย่างเป็นทางการคือพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันคือ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยทรงรับตำแหน่งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม..
พระมหากษัตริย์ไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พระมหากษัตริย์ไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช
ลเอก นายพลเสือป่า พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช (2 เมษายน พ.ศ. 2420 - 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม เป็นผู้นำกบฏบวรเดชพยายามยึดอำนาจจากรัฐบาลคณะราษฎร เมื่อ..
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดชและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร
ลเอก พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกร (ประสูติ: 5 ธันวาคม พ.ศ. 2426 — สิ้นพระชนม์: 18 ตุลาคม พ.ศ. 2490) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทับทิม เป็นต้นราชสกุลวุฒิชัย ณ อยุธยา พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ เสด็จเข้ารับการศึกษาในยุโรป ในคราวที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสยุโรปครั้งแรก เมื่อ..
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวุฒิไชยเฉลิมลาภ กรมหลวงสิงหวิกรมเกรียงไกรและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช
อมพล พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช หรือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชเป็นพระราชโอรสองค์ที่ ๑๗ ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประสูติแต่ เจ้าจอมมารดาทับทิม โดยเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวกลุ่มแรกที่ทรงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อกลับมาประเทศไทยทรงเข้ารับราชการในกองทัพบกและกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งต่างๆ และทรงเป็นจอมพลพระองค์ที่ 2 ของกองทัพบกสยาม พระองค์ทรงเป็นต้นราชสกุล "จิรประวัติ".
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
กฤษณ์ สีวะรา
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กฤษณ์ สีวะรา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้บัญชาการทหารบกคนที่ 19 ของไทย อดีตแม่ทัพภาคที่ 1 ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเหตุการณ์ 14 ตุลา ในฐานะ ผู้อำนวยการรักษาความสงบ ภายหลังการลาออกจากทุกตำแหน่งและเดินทางออกนอกประเทศ ของจอมพล ถนอม กิตติขจร จอมพลประภาส จารุเสถียร พันเอกณรงค์ กิตติขจร.
กฤษณ์ สีวะราและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · กฤษณ์ สีวะราและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นชื่อตำแหน่งผู้บัญคับบัญชาระดับบนสุดของกองทัพไทยและกองบัญชาการกองทัพไทย ตั้งแต..
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทย · รายชื่อผู้บัญชาการทหารสูงสุดของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย
ไม่มีคำอธิบาย.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติของไทย ·
รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารบก แห่งกองทัพบกไท.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
รายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารอากาศไทย ·
รายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย
รายพระนาม รายนาม ผู้บัญชาการทหารเรือ แห่งกองทัพเรือไท.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารเรือไทย ·
สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2402 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471) เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี ประสูติเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2402 เป็นพระราชโอรสลำดับสุดท้ายในพระบรมราชชนนี เมื่อพระบรมราชชนนีสวรรคตสมเด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ พระชันษาเพียง 2 ปี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ชาววังมักเอ่ยพระนามอย่างลำลองว่า "สมเด็จพระราชปิตุลาฯ" ส่วนชาวบ้านมักออกพระนามว่า "สมเด็จวังบูรพา" เพราะทรงมีวังชื่อว่า "วังบูรพาภิรมย์" ซึ่งก็คือตำแหน่งที่เป็นย่านวังบูรพาในปัจจุบัน และทรงเป็น "ตา" ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าภาณุพันธ์ยุคล พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมพลฑิฆัมพร และพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ ตามพระประวัตินั้น ทรงเป็นจอมพลในรัชกาลที่ 7 ที่ทหารรักมาก เล่ากันมาว่าพวกทหารมักจะแบกพระองค์ท่านขึ้นบนบ่าแห่แหนในวาระที่มีการฉลองต่างๆ เช่น ฉลองคล้ายวันประสูติ เป็นต้น ทรงเป็นผู้ให้กำเนิดกิจการไปรษณีย์ไทย ครั้งถึงร.7 ในพิธีบรมราชาภิเศก ทรงโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระเกียรติยศสมเด็จพระปิตุลา(อา)แท้ๆที่เหลืออยู่พระองค์เดียวนี้เป็นสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ศักดินา 100,000 เป็นพิเศษ เทียบเท่า ศักดินา ตำแหน่ง พระบรมโอรสาธิราช, พระบรมราชินี, พระบรมราชเทวี ท่านจึงทรงเป็นผู้มีบุญพิเศษ ที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นโทจากแรกประสูติ แล้วได้เฉลิมพระเกิยรติยศขึ้นเป็นเจ้าฟ้าชั้นพิเศษที่มีศักดินาสูงเช่นนี้ เมื่อสิ้นพระชนม์ จึงใช้คำว่า "ทิวงคต" ท่านได้เสด็จทิวงคต เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471 ทรงเป็นต้นราชสกุลภาณุพัน.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ·
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต
อมพล จอมพลเรือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (29 มิถุนายน พ.ศ. 2424 — 18 มกราคม พ.ศ. 2487) ชาววังออกพระนามโดยลำลองว่า ทูลกระหม่อมชาย หรือ ทูลกระหม่อมบริพัตร ทรงดำรงตำแหน่งที่สำคัญทางการทหาร ตำแหน่งเสนาธิการทหารบก ผู้บัญชาการกรมทหารเรือ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เสนาธิการทหารบก เสนาบดีกระทรวงกลาโหม เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และผู้สำเร็จราชการรักษาพระนคร ทรงดำรงตำแหน่งองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว นอกจากนี้ยังทรงพระปรีชาสามารถในงานดนตรี ทรงได้รับการขนานพระนามเป็น "พระบิดาแห่งเพลงไทยเดิม" ทรงพระนิพนธ์เพลงไทย เพลงฝรั่งและเพลงไทยเดิมไว้มากมาย ทรงนิพนธ์เพลง วอทซ์ปลื้มจิต, วอทซ์ชุมพล, สุดเสนาะ, เพลงมหาฤกษ์, เพลงพญาโศก.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ·
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์
ลเอก มหาอำมาตย์เอก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้าจิตรเจริญ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ประสูติแต่พระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพรรณร.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ·
สฤษดิ์ ธนะรัชต์
อมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ (16 มิถุนายน พ.ศ. 2451 — 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 11, รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, ผู้บัญชาการทหารบกและอธิบดีกรมตำรวจ เป็นผู้ริเริ่มการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นผู้ก่อตั้งสำนักงบประมาณ เป็นผู้ก่อตั้งธนาคารทหารไทย และบริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด เจ้าของคำพูดที่ว่า "พบกันใหม่เมื่อชาติต้องการ" และ "ข้าพเจ้าขอรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียว" พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร ใน วันที่ 16 กันยายน..
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ·
สุจินดา คราประยูร
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุจินดา คราประยูร (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2476) เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ผู้บัญชาการทหารบก และ ผู้บัญชาการทหารสูง.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและสุจินดา คราประยูร · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและสุจินดา คราประยูร ·
หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต)
ลโท พลเรือโท พลอากาศโท หลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (20 กรกฎาคม พ.ศ. 2439 - 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2507) อดีตแม่ทัพกองทัพภาคอีสานในสงครามไทย-อินโดจีน, อดีตผู้บัญชาการทหารบก, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม, อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, อดีตสมาชิกคณะราษฎร และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 (ส.ส.ประเภทที่ 2) ในปี..
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและหลวงเกรียงศักดิ์พิชิต (พิชิต เกรียงศักดิ์พิชิต) ·
ถนอม กิตติขจร
อมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ ถนอม กิตติขจร (11 สิงหาคม พ.ศ. 2454—16 มีนาคม พ.ศ. 2547) เป็น อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศไทย ผู้บัญชาการทหารบก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ผู้ซึ่งเป็นหัวหน้าคณะรัฐบาลในเหตุการณ์ 14 ตุลา ปี 2516 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การประท้วงของ นิสิต นักศึกษา และประชาชน โดยในเหตุการณ์ ทหารได้ใช้อาวุธสงครามเข้าปราบปรามนักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมเรียกร้องรัฐธรรมนูญ จนทำให้มีผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมาก เป็นผลให้ จอมพล ถนอม กิตติขจร ต้องประกาศลาออกจากตำแหน่ง และเดินทางออกจากประเทศ พร้อมกับ จอมพล ประภาส จารุเสถียร และ พ.อ.ณรงค์ กิตติขจร ภายหลังเหตุการณ์ จอมพล ถนอม กิตติขจร ก็ได้เดินทางกลับ แล้วบวชเป็นพระสามเณร เป็นชนวนไปสู่การ ขับไล่ ของนักศึกษาธรรมศาสตร์ จนโยงไปสู่เหตุการณ์ 6 ตุลา ปี 2519 ทำให้มีผู้บาดเจ็บ เสียชีวิต และสูญหายจำนวนมาก จอมพล ถนอม กิตติขจร เคยดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง 4 สมัย เป็นระยะเวลาถึง 10 ปี 6 เดือนเศษ และนับจากการเปลี่ยนการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา นายทหารที่มาจากคนธรรมดาสามัญที่ครองยศจอมพลสายทหารบก มีด้วยกัน 7 คน จอมพลถนอมเป็นคนที่ 6 จอมพลประภาส จารุเสถียรเป็นคนที่ 7 แต่ผู้ที่มีอายุยืนที่สุด คือจอมพลถนอม จึงกลายเป็น "จอมพลคนสุดท้าย" จอมพลถนอมถึงแก่อสัญกรรมด้วยโรคเส้นเลือดในสมองแตกเมื่อกลางดึก เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน..
ถนอม กิตติขจรและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ถนอม กิตติขจรและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
ประวิตร วงษ์สุวรรณ
ลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ (เกิด 11 สิงหาคม พ.ศ. 2488) เป็นรองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคงและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมตั้งแต่ปี 2557 รองหัวหน้าและประธานคณะที่ปรึกษาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ และอดีตผู้บัญชาการทหารบก.
ประวิตร วงษ์สุวรรณและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · ประวิตร วงษ์สุวรรณและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
แปลก พิบูลสงคราม
งครามอินโดจีน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งผนวชทรงรับบาตรจากจอมพล ป. นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม (14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 – 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป.พิบูลสงคราม" เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุด คือ 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย และเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง, ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย เป็นผู้เปลี่ยนชื่อ "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน คำขวัญที่รู้จักกันดีของนายกรัฐมนตรีผู้นี้คือ "เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย" หรือ "ท่านผู้นำไปไหนฉันไปด้วย" และ "ไทยอยู่คู่ฟ้า" ในสายตานักวิชาการประวัติศาสตร์การเมืองไทยส่วนหนึ่งเห็นว่า จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเผด็จการทางทหารที่มีบทบาททางการเมืองสูง และให้ความสนใจกับความคิดที่ส่อไปในทางเชื้อชาตินิยม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 ในเวลาประมาณ 20.30 น. ณ บ้านพักส่วนตัว ชานกรุงโตเกียว สิริอายุได้ 67 ปี.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและแปลก พิบูลสงคราม · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและแปลก พิบูลสงคราม ·
เชษฐา ฐานะจาโร
ลเอกเชษฐา ฐานะจาโร (23 สิงหาคม พ.ศ. 2481 —) ประธานที่ปรึกษาพรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก และอดีตแม่ทัพภาคที่ 1.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเชษฐา ฐานะจาโร · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเชษฐา ฐานะจาโร ·
เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล)
อมพล เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) (14 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464) ผู้บัญชาการกรมยุทธนาธิการ ระหว่างวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2457 - 25 สิงหาคม พ.ศ. 2464 เป็นพระโอรสในหม่อมเจ้านิล ฉัตรกุล (พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมื่นสุรินทรรักษ์) กับหม่อมราชวงศ์ สุ่น ปาลกะวงศ์ (นัดดาในพระสัมพันธวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปาน กรมหมื่นนราเทเวศร์).
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (หม่อมราชวงศ์อรุณ ฉัตรกุล) ·
เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร)
ลเอก เจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) (21 เมษายน พ.ศ. 2410 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2504) อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม ระหว่าง 1 เมษายน..
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเจ้าพระยาบดินทรเดชานุชิต (แย้ม ณ นคร) ·
เปรม ติณสูลานนท์
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี รัฐบุรุษ อดีตผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร และนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 16 ดำรงตำแหน่ง 3 สมัย ระหว่างปี..
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและเปรม ติณสูลานนท์ · รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทยและเปรม ติณสูลานนท์ ·
1 สิงหาคม
วันที่ 1 สิงหาคม เป็นวันที่ 213 ของปี (วันที่ 214 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 152 วันในปีนั้น.
1 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 1 สิงหาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
1 เมษายน
วันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 91 ของปี (วันที่ 92 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 274 วันในปีนั้น.
1 เมษายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 1 เมษายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
11 ธันวาคม
วันที่ 11 ธันวาคม เป็นวันที่ 345 ของปี (วันที่ 346 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 20 วันในปีนั้น.
11 ธันวาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 11 ธันวาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
15 เมษายน
วันที่ 15 เมษายน เป็นวันที่ 105 ของปี (วันที่ 106 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 260 วันในปีนั้น.
15 เมษายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 15 เมษายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
18 มิถุนายน
วันที่ 18 มิถุนายน เป็นวันที่ 169 ของปี (วันที่ 170 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 196 วันในปีนั้น.
18 มิถุนายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 18 มิถุนายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
24 สิงหาคม
วันที่ 24 สิงหาคม เป็นวันที่ 236 ของปี (วันที่ 237 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 129 วันในปีนั้น.
24 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 24 สิงหาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
28 มิถุนายน
วันที่ 28 มิถุนายน เป็นวันที่ 179 ของปี (วันที่ 180 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 186 วันในปีนั้น.
28 มิถุนายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 28 มิถุนายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
28 มีนาคม
วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันที่ 87 ของปี (วันที่ 88 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 278 วันในปีนั้น.
28 มีนาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 28 มีนาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
29 มีนาคม
วันที่ 29 มีนาคม เป็นวันที่ 88 ของปี (วันที่ 89 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 277 วันในปีนั้น.
29 มีนาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 29 มีนาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
3 สิงหาคม
วันที่ 3 สิงหาคม เป็นวันที่ 215 ของปี (วันที่ 216 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 150 วันในปีนั้น.
3 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 3 สิงหาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
31 มีนาคม
วันที่ 31 มีนาคม เป็นวันที่ 90 ของปี (วันที่ 91 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 275 วันในปีนั้น.
31 มีนาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 31 มีนาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
5 สิงหาคม
วันที่ 5 สิงหาคม เป็นวันที่ 217 ของปี (วันที่ 218 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 148 วันในปีนั้น.
5 สิงหาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 5 สิงหาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
8 พฤศจิกายน
วันที่ 8 พฤศจิกายน เป็นวันที่ 312 ของปี (วันที่ 313 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 53 วันในปีนั้น.
8 พฤศจิกายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 8 พฤศจิกายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
8 ธันวาคม
วันที่ 8 ธันวาคม เป็นวันที่ 342 ของปี (วันที่ 343 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 23 วันในปีนั้น.
8 ธันวาคมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 8 ธันวาคมและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
8 เมษายน
วันที่ 8 เมษายน เป็นวันที่ 98 ของปี (วันที่ 99 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 267 วันในปีนั้น.
8 เมษายนและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย · 8 เมษายนและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทย มี 282 ความสัมพันธ์ขณะที่ รายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย มี 136 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 58, ดัชนี Jaccard คือ 13.88% = 58 / (282 + 136)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและรายนามผู้บัญชาการทหารบกไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: