โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 vs. ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไท.. ลำดับเวลาของ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 มี 27 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีพระราชวังดุสิตพระตำหนักจิตรลดารโหฐานพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยกรุงเทพมหานครมิ่งขวัญ แสงสุวรรณรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540ลานพระราชวังดุสิตวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติสะพานมัฆวานรังสรรค์สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินสุรยุทธ์ จุลานนท์สนธิ บุญยรัตกลินจังหวัดลพบุรีถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)ทำเนียบรัฐบาลไทยความฝันอันสูงสุดตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซีเอ็นเอ็นประพาศ ศกุนตนาคนครนิวยอร์กแยกเกียกกายโกวิท วัฒนะโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทยเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษ

ริษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษราชบัณฑิตยสถาน.

บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · บรรษัทแพร่ภาพกระจายเสียงอังกฤษและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี

นีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี (Channel 9 MCOT HD; ชื่อเดิม: สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีช่อง 4 บางขุนพรหม, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 บางลำพู, สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท., สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ทีวี) เป็นสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (Terrestrial Television) แห่งแรกของประเทศไทย ของบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) เริ่มแพร่ภาพเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2498 ในระบบวีเอชเอฟ เดิมออกอากาศเป็นภาพขาวดำ ทางช่องสัญญาณที่ 4 ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 จึงย้ายมาออกอากาศด้วยภาพสี ทางช่องสัญญาณที่ 9 จนถึงปัจจุบัน สังกัด สำนักนายกรัฐมนตรี โดยมีนายกอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นผู้กำกับดูแล มีพลเอก ฉัตรเฉลิม เฉลิมสุข เป็นประธานกรรมการบริษัท และนายเขมทัตต์ พลเดชเป็นกรรมการผู้อำนวยการใหญ.

ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดีและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระราชวังดุสิต

ระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับร้อนจัด ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตลอดทั้งพระบรมวงศานุวงศ์ทรงพระประชวรกันเสมอ ต่อมา จึงสร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล โดยได้สร้างแล้วเสร็จในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.

พระราชวังดุสิตและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · พระราชวังดุสิตและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

ระตำหนักจิตรลดารโหฐาน สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เป็นพระตำหนักในพระราชวังดุสิต ตั้งอยู่ที่แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันเป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่9.

พระตำหนักจิตรลดารโหฐานและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · พระตำหนักจิตรลดารโหฐานและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

ันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy, PAD) หรือเรียกว่า กลุ่มพันธมิตรกู้ชาติ หรือ กลุ่มคนเสื้อเหลือง เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยBloomberg,, 19 December 2008 กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย มีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์ ในปี..

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

กรุงเทพมหานคร

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.

กรุงเทพมหานครและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · กรุงเทพมหานครและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ

นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคเพื่อไทย อดีตหัวหน้าทีมเศรษฐกิจ พรรคพลังประชาชน อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ อดีตกรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) คนแรก และผู้อำนวยการองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย คนสุดท้.

มิ่งขวัญ แสงสุวรรณและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · มิ่งขวัญ แสงสุวรรณและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณ์อักษร ฉบับที่ 16 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธย เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2540 ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงแล้ว ด้วยการรัฐประหาร เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ได้ออกประกาศ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ทั้งนี้คณะปฏิรูปฯได้ออกประกาศคงบทบัญญัติบางหมวดของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549 ไว้ภายหลัง รัฐธรรมนูญฉบั..

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ลานพระราชวังดุสิต

ระบรมรูปทรงม้า ภาพถ่ายประมาณ สมัยรัชกาลที่ 6 พระบรมรูปทรงม้า และ ลานพระราชวังดุสิต ในปัจจุบัน ภาพน้ำท่วมเมื่อปี พ.ศ. 2485 หมุดคณะราษฎร พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณตน และสวนสนาม ของทหารรักษาพระองค์ ภาพแสดงที่ตั้งของหมุดคณะราษฎร (วงกลมสีเหลือง) พระลานพระราชวังดุสิต หรือที่นิยมเรียกโดยทั่วไปว่า ลานพระบรมรูปทรงม้า เป็นลานกว้างอยู่ด้านหน้าของพระที่นั่งอนันตสมาคมและสวนอัมพร ในเขตพระราชวังดุสิต ถนนอู่ทองใน แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ "พระบรมรูปทรงม้า" และหมุด 24 มิถุนายน 2475 ที่ระลึกการเปลี่ยนแปลงการปกครอง.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลานพระราชวังดุสิต · ลานพระราชวังดุสิตและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

วิกฤตการณ์การเมืองไท..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และวิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553 · ดูเพิ่มเติม »

สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ

มัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly) เป็นองค์กรที่มีอำนาจมากที่สุดและเป็นหนึ่งในเสาหลักของสหประชาชาติ เป็นเพียงองค์กรเดียวของสหประชาชาติที่ตัวแทนของแต่ละประเทศสมาชิกมีสิทธิและฐานะเท่าเทียมกัน สมัชชาใหญ่มีหน้าที่ตรวจสอบงบประมาณและการใช้จ่ายในโครงการของสหประชาชาติ แต่งตั้งสมาชิกไม่ถาวรในคณะมนตรีความมั่นคง รับรายงานจากทั่วทุกมุมโลกเพื่ออภิปรายและให้ความเห็น ตลอดจนจัดตั้งองค์กรลูกต่างๆมากมายของสหประชาชาติ การประชุมสมัชชาใหญ่ครั้งแรกมีขึ้นในวันที่ 10 มกราคม..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ · ดูเพิ่มเติม »

สะพานมัฆวานรังสรรค์

นมัฆวานรังสรรค์ เป็นสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม ที่สร้างขึ้นพร้อมกับการสร้างถนนราชดำเนินนอก ซึ่งเป็นถนนขนาดใหญ่ แบบที่เรียกว่า Avenue ของทวีปยุโรป อยู่ในพื้นที่เขตพระนคร, เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย และเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผู้ออกแบบคือนายการ์โล อัลเลกรี นายช่างชาวอิตาลี สร้างตามสถาปัตยกรรมอิตาลีและสเปน ใช้เวลา 3 ปี ลักษณะเป็นสะพานโครงสร้างคานเหล็กพื้นคอนกรีต ส่วนประดับคือรางสะพานที่เป็นเหล็กหล่อและดวงตรารูปช้างเอราวัณ ที่กลางสะพานมีเสาหินอ่อน มุมสะพานรองรับโคมไฟสำริด ผนังเชิงลาดสะพานประดับด้วยหินอ่อน สะพานแห่งนี้ได้ชื่อว่าเป็นสะพานที่สวยงามสะพานหนึ่งในกรุงเทพฯ รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดเมื่อ..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสะพานมัฆวานรังสรรค์ · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสะพานมัฆวานรังสรรค์ · ดูเพิ่มเติม »

สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (State Audit Office of the Kingdom of Thailand) หรือ สตง. (SAO) เป็นองค์กรอิสระ อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) มีหน้าที่ดำเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การปฏิบัติงาน และการดำเนินการอื่น ที่เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน ตรวจสอบการใช้งบประมาณของรัฐบาล โดยมี ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน (Auditor General) เป็นหัวหน้าสำนักงาน.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน · ดูเพิ่มเติม »

สุรยุทธ์ จุลานนท์

ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2486) องคมนตรี นายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 24 จากการแต่งตั้งโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ภายหลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ก่อนเข้าดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี พล.อ.สุรยุทธ์เคยดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และองคมนตรี ในปลายเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 นายอารีย์ วงศ์อารยะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้ลาออกจากตำแหน่ง พล.อ.สุรยุทธ์ ได้เข้าดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แทนนายอารีย์อีกตำแหน่งหนึ่งด้วย 8 เมษายน พ.ศ. 2551 พล.อ.สุรยุทธ์ ได้รับพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ จาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ให้กลับดำรงตำแหน่ง องคมนตรี เป็นครั้งที่สอง พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ มีฉายาว่า "บิ๊กแอ้ด" วันที่ 9 ธันวาคม..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสุรยุทธ์ จุลานนท์ · ดูเพิ่มเติม »

สนธิ บุญยรัตกลิน

ลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ผู้บัญชาการทหารบกของไทยและก็เป็น ผู้บัญชาการทหารบกของไทยคนแรกที่มาจากชาวไทยมุสลิม และอดีตหัวหน้าคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในเหตุการณ์ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ และหัวหน้าพรรคมาตุภูมิ อดีตรองผู้อำนวยการเสริมสร้างสันติสุข จังหวัดชายแดนภาคใต้.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสนธิ บุญยรัตกลิน · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และสนธิ บุญยรัตกลิน · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดลพบุรี

ังหวัดลพบุรี เป็นจังหวัดในภาคกลางของประเทศไทย แบ่งการปกครองออกเป็น 11 อำเภอ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดอื่นถึง 8 จังหวัด วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ชัยภูมิ นครราชสีมา สระบุรี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สิงห์บุรี และจังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดลพบุรีเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก และมีประวัติศาสตร์ยาวนาน ซึ่งเคยเป็นที่ตั้งศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้.

จังหวัดลพบุรีและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · จังหวัดลพบุรีและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)

นนราชดำเนินกลางและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน (Thanon Ratchadamnoen) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยถนน 3 สาย ได้แก.

ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ถนนราชดำเนิน (กรุงเทพมหานคร)และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ทำเนียบรัฐบาลไทย

ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.

ทำเนียบรัฐบาลไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ทำเนียบรัฐบาลไทยและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ความฝันอันสูงสุด

ลงพระราชนิพนธ์ ความฝันอันสูงสุด เป็นเพลงพระราชนิพนธ์ลำดับที่ 43 ทรงพระราชนิพนธ์ใน..

ความฝันอันสูงสุดและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ความฝันอันสูงสุดและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ปลี่ยนแปลงจากปีก่อน: +198.96 จุด (+%) |- ! colspan.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ซีเอ็นเอ็น

ล นิวส์ เน็ตเวิร์ก (Cable News Network) หรือรู้จักกันในชื่อ ซีเอ็นเอ็น (CNN) เป็นเครือข่ายโทรทัศน์เคเบิล ที่เสนอข่าวสารตลอด 24 ชั่วโมง ก่อตั้งโดย เท็ด เทอร์เนอร์ เริ่มต้นออกอากาศเมื่อวันอาทิตย์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2523 ปัจจุบันบริหารงานโดยเทิร์นเนอร์บรอดแคสติงซิสเตม หน่วยงานในเครือไทม์วอร์เนอร์ ซึ่งสำนักงานใหญ่ที่เรียกว่า ศูนย์กลางซีเอ็นเอ็น (CNN Center) ตั้งอยู่ที่เมืองแอตแลนตา รัฐจอร์เจีย และมีห้องส่งอื่นๆ อยู่ที่นครนิวยอร์ก และกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศในสหรัฐอเมริกา จะส่งสัญญาณไปยังประเทศแคนาดาเพียงแห่งเดียว ส่วนซีเอ็นเอ็นที่ออกอากาศอยู่ใน 212 ประเทศทั่วโลกนั้น เป็นอีกช่องหนึ่งที่เรียกว่า ซีเอ็นเอ็นนานาชาติ (CNN International) ทั้งนี้ซีเอ็นเอ็นเป็นสถานีโทรทัศน์ข่าว ที่มีผู้ชมมากเป็นอันดับต้นๆ ของสหรัฐอเมริกาและทั่วโลก โดยมีคู่แข่งในประเทศที่สำคัญคือ ฟ็อกซ์นิวส์ และระดับนานาชาติคือ บีบีซี เวิลด์นิว.

ซีเอ็นเอ็นและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ซีเอ็นเอ็นและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

ประพาศ ศกุนตนาค

19 กันยายน พ.ศ. 2549 พลตรี ประพาศ ศกุนตนาค เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2478 เป็นบุตรชายของ ขุนเหมสมาหาร(ประพงศ์ ศกุนตนาค) อดีตนายอำเภอที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรณีกบฏบวรเดชและ นางเหมสมาหาร(พริ้ง ศรีเพ็ญ)เป็นหลานปู่ หลวงสรรพกิจโกศล(ปาน ศกุนตนาค) ในปี พ.ศ. 2476 พล.ต.ประพาศ จบโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นเดียวกับ พล.ต.อ.ชลอ เกิดเทศ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า (จปร.) รุ่นที่ 10 รุ่นเดียวกับ พล.อ.ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รับราชการอยู่ในกรมการทหารสื่อสารมาโดยตลอด เป็นผู้ประกาศข่าวของช่อง 7 ยุคก่อตั้งสถานีที่ยังคงอยู่ในความดูแลของช่อง 5 และยังออกอากาศเป็นภาพขาวดำอยู่ จากนั้นในปี พ.ศ. 2515 จึงได้มีโอกาสแสดงละครเวทีเฉพาะพระพักตร์ และละครโทรทัศน์หลายเรื่องด้วยกัน โดยเรื่องที่สร้างชื่อเสียงได้แก่ สี่แผ่นดิน ในปี พ.ศ. 2517 โดยรับบทเป็นคุณเปรมตัวเอกของเรื่องด้วย ภายหลังได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนเสนาธิการทหารบก และได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์ในโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ซึ่งทั้งนี้ยังถือเป็นอาจารย์ผู้สอนของนายทหารผู้มีบทบาทสำคัญในประเทศอีกหลายท่านด้วยกัน อาทิเช่น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา พลเอกอุดมเดช สีตบุตร เป็นต้น นอกจากนี้ยังเป็นนักดนตรีที่เล่นดนตรีไทยได้หลายชิ้น สามารถร้องเพลงไทย และขับเสภาได้ไพเราะ จนได้รับคำชมจากหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช ในหนังสือพิมพ์สยามรัฐ ได้มีโอกาสแสดงดนตรีและขับเสภาในงานสำคัญต่าง ๆ หลายต่อหลายครั้ง อีกทั้งยังเป็นเจ้าของเสียงขับเสภาในละครโทรทัศน์แนวจักร ๆ วงศ์ ๆ หลายเรื่องด้วย หน้าที่สุดท้ายคือเป็นที่ปรึกษาผู้อำนวยการสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 แต่ยังได้รับโอกาสให้เป็นผู้บรรยายงานพระราชพิธีและรัฐพิธีหลายต่อหลายครั้ง โดยงานที่ภูมิใจที่สุดคือได้เป็นหัวหน้าผู้บรรยายในงานพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 และต่อมาได้เป็นหัวหน้าคณะผู้บรรยายในพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 และล่าสุดยังได้เป็นหัวหน้าคณะผู้บรรยายในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 พล.ต.ประพาศ ศกุนตนาค ได้รับฉายาว่าเป็น "โฆษกคณะปฏิวัติ" เช่นเดียวกับนายอาคม มกรานนท์ เนื่องจากมักเป็นผู้ที่อ่านประกาศของคณะรัฐประหารหรือคณะปฏิรูปหรือเหตุการณ์สำคัญ ๆ ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ความมั่นคงของชาติหลายครั้ง เช่น เป็นผู้อ่านประกาศของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ในเหตุการณ์รัฐประหาร เมื่อปี พ.ศ. 2534 หรือ อ่านประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ ปี พ.ศ. 2535 และ อ่านประกาศของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข (คปค.) ในการรัฐประหารเมื่อปี พ.ศ. 2549 เป็นต้น ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาต..

ประพาศ ศกุนตนาคและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ประพาศ ศกุนตนาคและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

นครนิวยอร์ก

นครนิวยอร์ก หรือที่นิยมเรียกกันว่า นิวยอร์กซิตี (New York City; NYC) เป็นเมืองใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา เป็นเมืองที่เจริญที่สุดในโลก เป็นมหานครเอกของโลก จัดได้ว่าเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน วัฒนธรรม บันเทิง ที่สำคัญที่สุดของโลก เป็นเมืองที่มี ตึกระฟ้า ตึกสูงมาก ตลอดระยะเวลา 150 ปี และยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่องค์การสหประชาชาติ นิวยอร์กตั้งอยู่บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา ประกอบด้วย 5 เขตปกครองที่เรียกว่า โบโรฮ์ (Borough) คือ เดอะบรองซ์ บรูคลิน แมนแฮตตัน ควีนส์ และสแตตัน ไอส์แลนด์ ประชากรรวมทั้งหมดประมาณ 8,274,527 คน ภายในพื้นที่ 790 ตร.กม.

นครนิวยอร์กและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · นครนิวยอร์กและลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 · ดูเพิ่มเติม »

แยกเกียกกาย

แยกเกียกกาย (Kiakkai Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนประชาราษฎร์ สาย 1, ถนนทหาร และถนนสามเสน ในพื้นที่แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร คำว่า "เกียกกาย" เป็นศัพท์โบราณที่ใช้เรียกกองทหารส่วนดูแลเสบียง หรือเทียบได้กับกองพลาธิการ ในยุคปัจจุบัน รอบ ๆ แยกเกียกกายเป็นแหล่งที่ตั้งของค่ายทหารต่าง ๆ ในส่วนของกองทัพบก เช่น กองพันทหารม้าที่ 3 รักษาพระองค์ กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์, กองพันทหารม้าที่ 4 กองพลที่ 1 รักษาพระองค์, กองพลทหารปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน, กรมทหารปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ สถานีวิทยุกระจายเสียง ศูนย์การทหารม้า (วิทยุยานเกราะ) เป็นต้น ซึ่งหลายแห่งได้เป็นหน่วยที่ได้เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ความเปลี่ยนแปลงของประเทศชาติในหลายยุคสมัย เช่น การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475, เหตุการณ์ 6 ตุลา, กบฏเมษาฮาวาย หรือกบฏ 9 กันยา เป็นต้น และเคยเป็นที่ตั้งของโรงเรียนโยธินบูรณะ ที่อยู่ฝั่งถนนสามเสน ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมาในปี..

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และแยกเกียกกาย · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และแยกเกียกกาย · ดูเพิ่มเติม »

โกวิท วัฒนะ

ลตำรวจเอก โกวิท วัฒนะ (11 มีนาคม พ.ศ. 2490 —) อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อดีตผู้บัญชาการสำนักงานตำรวจแห่งชาต.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และโกวิท วัฒนะ · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และโกวิท วัฒนะ · ดูเพิ่มเติม »

โทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย

ทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย (ชื่อย่อ: ทรท., ทีวีพูล; The Television Pool of Thailand - TPT., T.V.Pool) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2511 โดยสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย 4 ช่องคือ ไทยทีวีสีช่อง 3, ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี, ททบ.5 และช่อง 7 สี.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย · ดูเพิ่มเติม »

เอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ

อฟ.เอ็ม.

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ · ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และเอฟ.เอ็ม. 92.25 เมกกะเฮิร์ซ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549

รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 มี 143 ความสัมพันธ์ขณะที่ ลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 มี 67 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 27, ดัชนี Jaccard คือ 12.86% = 27 / (143 + 67)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549และลำดับเวลารัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »