ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พรรคชาติไทยพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยกบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520กมล เดชะตุงคะมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520สงัด ชลออยู่หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชธานินทร์ กรัยวิเชียรทำเนียบรัฐบาลไทยคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38ประมาณ อดิเรกสารนายกรัฐมนตรีไทย
พรรคชาติไทย
รรคชาติไทย (Chart Thai Party) เป็นอดีตพรรคการเมืองในประเทศไทย เคยมีบทบาททางการเมืองระดับชาติช่วงปี..
พรรคชาติไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · พรรคชาติไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
รรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย (พคท.) (Communist Party of Thailand - CPT) เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย ไม่เคยจดทะเบียนจัดตั้งตามกฎหมายอย่างเป็นทางการ ดำเนินแนวทางตาม ลัทธิมาร์กซ์ ลัทธิเลนิน และลัทธิเหมา นอกจากนั้น ในอดีตยังมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งเป็นสมาชิกของ พคท.
พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520
กบฏ 26 มีนาคม..
กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520และเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
กมล เดชะตุงคะ
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก กมล เดชะตุงคะ อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ อดีตผู้บัญชาการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ในการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519.
กมล เดชะตุงคะและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · กมล เดชะตุงคะและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) หรือเรียกโดยย่อว่า ม. (TU) เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ "มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" หรือ "ม..ก." (The University of Moral and Political Sciences หรือ UMPS) เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน..
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520
รัฐประหาร 20 ตุลาคม..
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520 · รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2520และเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
สงัด ชลออยู่
ลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก สงัด ชลออยู่ (4 มีนาคม พ.ศ. 2458 - 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523) เกิดที่บ้านเขาพระ หมู่ที่ 2 ตำบลเขาพระ อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรนายแปลก และนางส้มลิ้ม ชลออยู่ สมรสกับคุณหญิงสุคนธ์ ชลออยู่ (สหัสสานนท์) ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน-30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 พล.ร.อ.สงัดในขณะนั้นยังมียศ นาวาโท (น.ท.) เป็นผู้บังคับบัญชาเรือรบหลวงสุราษฎร์ธานี เป็นผู้ยิงปืนจากเรือไปยังรถถังของฝ่ายรัฐบาลจนเสียหาย หลังเหตุการณ์ได้ถูกควบคุมตัวและถูกคุมขังเช่นเดียวกับผู้ต้องหาคนอื่น ๆ ที่สนามกีฬาแห่งชาติด้วย พล.ร.อ.สงัด ชลออยู่ เป็นนายทหารที่มีบทบาทอย่างสูงในทางการเมือง โดยเฉพาะหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ด้วยการเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารเรือและผู้บัญชาการทหารสูงสุด และเป็นผู้นำในการรัฐประหารถึง 2 ครั้ง คือในวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 และ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 จนได้รับฉายาว่า "บิ๊กจอวส์" หรือ "จอวส์ใหญ่" ถึงแก่อนิจกรรมด้วยอาการหัวใจวาย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน..
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และสงัด ชลออยู่ · สงัด ชลออยู่และเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งเป็นเอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกา ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2487 ในงานเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 19 พรรษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ที่สหรัฐอเมริกา ศาสตราจารย์ (พิเศษ) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2448 — 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540) อดีตนายกรัฐมนตรีของประเทศไทย 4 สมัย ผู้ร่วมก่อตั้งและอดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก่อนเข้าสู่วงการเมือง เคยเป็นผู้พิพากษา และเคยดำรงตำแหน่ง เอกอัครราชทูตไทย ประจำสหรัฐอเมริกา มาก่อน ม.ร.ว.เสนีย์ เกิดที่ค่ายทหาร ในจังหวัดนครสวรรค์ เวลาใกล้รุ่ง เป็นโอรสใน พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าคำรบ กับหม่อมแดง (บุนนาค) ชื่อ "เสนีย์" หมายถึง ทหาร หรือ เสนาบดี ได้รับพระราชทานนามนี้จากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส สันนิษฐานว่า เนื่องจากเสด็จพ่อ (พระองค์เจ้าคำรบ) เป็นทหาร ชีวิตครอบครัวสมรสกับ ท่านผู้หญิงอุศนา ปราโมช มีบุตรชาย-หญิง 3 คน บุตรชาย ได้แก่ ม.ล.เสรี ปราโมช, ม.ล.อัศนี ปราโมช และ บุตรี ได้แก่ ม.ล.นียนา ปราโมช ม.ร.ว.เสนีย์ มีน้องชายที่มีชื่อเสียงคู่กันคือ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรี ที่มีความสามารถในหลายสาขา โดยสื่อมวลชนนิยมเรียก ท่านทั้งคู่ว่า "หม่อมพี่ หม่อมน้อง" นอกจากนี้ยังมีพี่สาวคือ ม.ร.ว.บุญรับ พินิจชนคดี (สมรสกับ พล.ต.อ.พระพินิจชนคดี หรือ พินิจ อินทรทูต) ม.ร.ว เสนีย์ เป็นนายกรัฐมนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุดในประศาสตร์การเมืองไทย ด้วยอายุขณะรับตำแหน่ง คือ 40 ปี.
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช · หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมชและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
ธานินทร์ กรัยวิเชียร
ตราจารย์ (พิเศษ) ธานินทร์ กรัยวิเชียร (5 เมษายน พ.ศ. 2470 —) อดีตองคมนตรี อดีตผู้ปฏิบัติหน้าที่ประธานองคมนตรี และอดีตนายกรัฐมนตรี คนที่ 14 ของไท.
ธานินทร์ กรัยวิเชียรและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ธานินทร์ กรัยวิเชียรและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
ทำเนียบรัฐบาลไทย
ทำเนียบรัฐบาล เป็นสถานที่ราชการสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานที่ทำงานของรัฐบาลไทย นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ตลอดจนข้าราชการและเจ้าหน้าที่ ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี, สถานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี, สถานที่ต้อนรับบุคคลสำคัญระดับผู้นำต่างประเทศ ซึ่งมาเยือนประเทศไทย และยังใช้เป็นสถานที่จัดรัฐพิธี เช่น งานสโมสรสันนิบาตเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษาฯ เป็นต้น ตั้งอยู่เลขที่ 1 ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 2 ไร่ 3 งาน 44 ตารางว.
ทำเนียบรัฐบาลไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ทำเนียบรัฐบาลไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38
'''ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช''' นายกรัฐมนตรีคนที่ 6 หัวหน้าคณะรัฐมนตรีคณะที่ 35 ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช นายกรัฐมนตรี นำคณะรัฐมนตรีคณะที่ 38 เข้าเฝ้าฯ เพื่อถวายสัตย์ปฏิญาณ ที่พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน คณะรัฐมนตรี คณะที่ 38 ของไทย (25 กันยายน พ.ศ. 2519 - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519) หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็น นายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 25 กันยายน..
คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38และรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 38และเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
ประมาณ อดิเรกสาร
ลเอก พลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร (31 ธันวาคม พ.ศ. 2456 - 20 สิงหาคม พ.ศ. 2553) นักการเมืองไทย อดีตรองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เคยเป็นสมาชิกพรรคเสรีมนังคศิลา เมื่อ..
ประมาณ อดิเรกสารและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · ประมาณ อดิเรกสารและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
นายกรัฐมนตรีไทย
นายกรัฐมนตรีไทย เป็นประธานแห่งคณะรัฐมนตรีไทย และทำหน้าที่หัวหน้ารัฐบาลของประเทศไทย โดยมีจุดกำเนิดมาจากการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา โดยปกติแล้วนายกรัฐมนตรีในระบอบประชาธิปไตยจะมีที่มาจากสภาผู้แทนราษฎรไทย ซึ่งโดยหลักแล้วถือว่านายกรัฐมนตรีมีต้องมาจากการแต่งตั้งทางอ้อมโดยประชาชน แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 กำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีตามมติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สภาที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง) ซึ่งผลการลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีปรากฏว่า พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี.
นายกรัฐมนตรีไทยและรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 · นายกรัฐมนตรีไทยและเหตุการณ์ 6 ตุลา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา
การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519 มี 37 ความสัมพันธ์ขณะที่ เหตุการณ์ 6 ตุลา มี 116 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 8.50% = 13 / (37 + 116)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2519และเหตุการณ์ 6 ตุลา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: