เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

รัฐประหาร vs. เครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

รัฐประหาร (coup d'état กูเดตา) เป็นการใช้กำลังยึดอำนาจและเปลี่ยนแปลงรัฐบาลอย่างฉับพลันและไม่ชอบด้วยกฎหมาย ปกติเกิดจากสถาบันของรัฐที่มีอยู่เดิมขนาดเล็กเพื่อโค่นรัฐบาลซึ่งเป็นที่ยอมรับแล้วเปลี่ยนเป็นองค์การปกครองใหม่ ไม่ว่าเป็นพลเรือนหรือทหาร รัฐประหารพิจารณาว่าสำเร็จแล้วเมื่อผู้ยึดอำนาจสถาปนาภาวะครอบงำ รัฐประหารไม่จำเป็นต้องเกิดความรุนแรงหรือเสียเลือดเนื้อ ศาลฎีกาตีความว่า รัฐประหารมิได้ขัดต่อกฎหมาย เพราะ "กฎหมายคือคำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์". รือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร เกิดขึ้นจากการรวมตัวของนักศึกษา นักกิจกรรม และนักเคลื่อนไหวที่ไม่เห็นด้วยกับการก่อรัฐประหารโดยคณะรัฐประหารที่เรียกตัวเองว่า คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การเกิดขึ้นของเครือข่าย เริ่มจากการประชุมกันของนักกิจกรรม(รุ่นใหม่) และนักศึกษาประมาณ 70-80 ในวันที่ 20 กันยายน (หนึ่งวันหลังการต้านรัฐประหาร) ผ่านการบอกข่าวตามเครือข่ายและองค์กรของตัวเอง มีจำนวนหนึ่งที่เป็นปัจเจกไม่ได้สังกัดเครือข่ายอะไร แต่ส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาและนักกิจกรรมที่ทำงานอย่างต่อเนื่องและอาจจะเรียกได้ว่าเป็นกลุ่มที่มีความก้าวหน้าทางการเมืองกลุ่มหนึ่งในภาคประชาชนไทย สมาชิกส่วนใหญ่ได้มีการทำงานร่วมกันมาก่อน หลายๆส่วนได้ทำงานร่วมกันในองค์กรพัฒนาเอกชน และได้รณรงค์ร่วมกันในหลายๆ ครั้ง เครือข่ายต้องการสร้างพื้นที่ทางการเมืองให้สำหรับคนที่มีความเห็นต่างจากการก่อรัฐประหาร มุมมองในสังคมไทยไม่ได้มีแค่ “เอารัฐประหาร ไม่เอาทักษิณ” หรือ “เอาทักษิณ ไม่เอารัฐประหาร” และเนื่องจากการก่อรัฐประหารเป็นการแสดงทัศนะว่าประชาชนไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรได้เอง ไม่สามารถตัดสินใจอนาคตของตัวเองได้ พลังประชาชนไม่มีค่า แต่กลับต้องพึ่งทหารหรือ “พระเอกขี่ม้าขาว” ในการแก้ไขปัญหาวิกฤติอะไร ประเทศไทยได้ผ่านรัฐประหารมาแล้วเป็นเวลาหลายสิบครั้ง ถ้าการก่อรัฐประหารครั้งนี้ได้รับการตอบรับ ครั้งต่อไปเมื่อมีวิกฤติทหารก็สามารถสร้างความชอบธรรมโดยก่อรัฐประหารได้อีกในอนาคต อีกทั้งการรัฐประหารครั้งนี้ได้มีการเกิดขึ้นของวัฒนธรรมความรุนแรงที่ไม่คำนึงถึง “หลักการ” ทางประชาธิปไตย เช่น กลุ่มที่ ยอมรับการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการทำผิดกฎหมายตามหลักสากลต่างๆ ยอมรับการปิดวิทยุชุมชนที่ภาคเหนือกว่า 300 สถานี ยอมรับการกักขังอดีตรัฐมนตรีในรัฐบาลทักษิณ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร

รัฐประหาร มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ เครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร มี 16 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 16)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐประหารและเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: