เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 20 ซึ่งจัดร่างโดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ในระหว่าง.. ผู้แทนราษฎรไทย ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรงทั้งหมด 500 คน และแบ่งการได้มาออกเป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จำนวน 350 คน และแบบบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง โดยให้เขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง จำนวน 150 คน ซึ่งหลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรูปแบบนี้ เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ทั้งนี้อายุของสภาผู้แทนราษฎรมีกำหนดคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชาวไทยไม่อยู่ในความผูกมัดแห่งอาณัติมอบหมาย หรือความครอบงำใดๆ และต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและความผาสุกของประชาชนโดยรวม โดยปราศจากการขัดกันแห่งผลประโยชน์ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่โดยตรงในทางนิติบัญญัติ ซึ่งร่างพระราชบัญญัติ หรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ จะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ ก็ด้วยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา และยังมีอำนาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินด้วย เช่น การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี การตั้งกระทู้ถาม และการเสนอญัตติขอให้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี ทั้งนี้ เป็นไปตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา ปัจจุบันสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่แทนสภาผู้แทนราษฎร จนถึงวันก่อนวันเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550สภาปฏิรูปแห่งชาติสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 8 ซี่งได้มีรัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2511 มีนาย ทวี บุณยเกตุ ประธานสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการโดยมีทั้งสิ้น 183 มาตรา ปัจจุบันรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้สิ้นสุดลงโดยการปฏิวัติตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 · รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 18 ซึ่งจัดร่างโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) ในระหว่าง..

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 · รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภาปฏิรูปแห่งชาติ

ปฏิรูปแห่งชาติ (6 ตุลาคม พ.ศ. 2557 – 6 กันยายน พ.ศ. 2558) หรือ สป.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาปฏิรูปแห่งชาติ · สภาปฏิรูปแห่งชาติและสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557

นิติบัญญัติแห่งชาต..

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557 · สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557และสภาผู้แทนราษฎรไทย · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มี 28 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย มี 181 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 1.91% = 4 / (28 + 181)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560และสภาผู้แทนราษฎรไทย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: