โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน

ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด vs. เจงกีส ข่าน

ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด (Despotism) เป็นระบอบการปกครองที่เก่าแก่ที่สุดในโลก เริ่มจากการรวมกลุ่มของมนุษย์ โดยให้บุคคลเพียงคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลเป็นมีอำนาจปกครองกลุ่ม โดยมีอำนาจอย่างสมบูรณ์ในระบอบของตน แนวคิดหลักคือ อำนาจอธิปไตยอยู่ในมือของคนคนเดียวหรือกลุ่มบุคคลขนาดเล็ก โดยอาจเป็นได้ทั้งการปกครองแบบทรราช ซึ่งใช้อำนาจปราบปรามและลงโทษผู้อยู่ใต้การปกครอง หรือการปกครองแบบเบ็ดเสร็จซึ่งผู้ปกครองอยู่เหนือกฎหมายใด ๆ การปกครองแบบราชาธิปไตยซึ่งพระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเต็มและอยู่เหนือกฎหมายนั้นก็นับเป็นระบอบเผด็จการแบบหนึ่ง แต่มองเตสกีเยอได้ระบุถึงความแตกต่างระหว่างระบอบทั้งสองว่า ระบอบราชาธิปไตยใช้อำนาจแบบเบ็ดเสร็จโดยการตราและแก้ไขกฎหมาย ขณะที่ระบอบเผด็จการจะใช้อำนาจตามใจตน. งกีส ข่าน (Чингис Хаан, Chinggis Khaan, Činggis Qaɣan; หรือ,; Genghis Khan; พ.ศ. 1705 หรือ 1708 — 18 สิงหาคม พ.ศ. 1770) เจงกีส แปลว่า “เวิ้งสมุทร, มหาสมุทร” (ซึ่งเปรียบได้ว่า เจงกีส ข่าน มีความยิ่งใหญ่ ดั่งเวิ้งมหาสมุทรนั่นเอง) จักรพรรดินักรบชาวมองโกลผู้พิชิต ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิมองโกล เดิมมีนามว่า เตมูจิน (Temüjin) ตามสถานที่เกิดริมฝั่งแม่น้ำโอนอน เป็นผู้นำครอบครัวแทนบิดาเมื่ออายุเพียง 13 ปี และต้องดิ้นรนต่อสู้ขับเคี่ยวกับชนเผ่าต่าง ๆ ที่เป็นอริอยู่หลายปี ปราบเผ่า “ไนแมน” ทางด้านตะวันตก พิชิตชนชาติ “ตันกุต” (เซี่ยตะวันตก) และยอมรับการจำนนของชาว “อุยกูร์” ในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน

ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน

ระบบใช้อำนาจเด็ดขาด มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ เจงกีส ข่าน มี 19 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (6 + 19)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบใช้อำนาจเด็ดขาดและเจงกีส ข่าน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »