ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ
ระบบรถไฟทางผสม vs. หมอนรองรางรถไฟ
ระบบรถไฟทางผสม หรือ ระบบรถไฟทางร่วม หรือ ระบบรถไฟทางคร่อม หรือ ดูอัลเกจ (dual gauge) เป็นทางรถไฟที่อนุญาตให้รถไฟที่มีขนาดความกว้างของขบวนต่างกัน สามารถวิ่งบนเส้นทางเดียวกัน โดยในแต่ละเส้นทางจะมีรางรถไฟอยู่ 3 ทาง โดยรางด้านนอกจะเป็นรางสำหรับรถไฟที่มีความกว้าง ขณะที่รางด้านในด้านหนึ่งคู่กับรางด้านนอกอีกด้านหนึ่งใช้สำหรับรถไฟที่แคบกว่า บางครั้งมีการสับสนในการเรียกรางรถไฟประเภทนี้ว่า รถไฟทางคู. หมอนรองราง (อังกฤษ:railroad sleeper อเมริกา:railroad tie) เป็นอุปกรณ์สำหรับใช้ยึดจับรางรถไฟให้อยู่กับที่ ช่วยให้ขอบรางทั้งสองเส้นมีระยะที่เท่ากัน และช่วยถ่ายเทน้ำหนักลงสู่หินหรือวัสดุรองราง หมอนรองรางรถไฟนิยมทำจากไม้เนื้อแข็ง หรือคอนกรีตอัดแรง ในบางครั้งอาจจะทำจากเหล็กกล้าขึ้นรูปก็ได้ หมอนแต่ละชนิดต่างเหมาะสมกับการใช้ที่แตกต่างกันคือ หมอนไม้สามารถใช้รองรางได้ทั่วไปทั้งทางปกติและสะพาน แต่ปัจจุบันนิยมใช้รองจุดที่รางสองเส้นต่อกัน ส่วนหมอนเหล็ก นิยมใช้บนสะพานเหล็กโดยเฉพาะ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หมอนคอนกรีตที่จะนำมาใช้ ต้องได้รับการทดสอบทั้งในด้านความทนทานต่อการกดดัน ตลอดจนความต้านทานไฟฟ้าที่อาจจะลัดจากรางเส้นหนึ่งไปหาอีกเส้นหนึ่งได้ เพื่อให้สามารถใช้ระบบวงจรไฟตอน (track circuit) ได้โดยไม่มีปัญห.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ
ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ
การเปรียบเทียบระหว่าง ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ
ระบบรถไฟทางผสม มี 2 ความสัมพันธ์ขณะที่ หมอนรองรางรถไฟ มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (2 + 5)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบรถไฟทางผสมและหมอนรองรางรถไฟ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: