เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน

ระบบภูมิคุ้มกัน vs. อะฟลาทอกซิน

ระบบภูมิคุ้มกัน (immune system) คือระบบที่คอยปกป้องร่างกายของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งแปลกปลอม โดยเฉพาะจุลชีพก่อโรค เช่น แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต รา พยาธิ รวมถึงสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ เช่น เซลล์ที่กำลังเจริญเติบโตไปเป็นมะเร็ง อวัยวะของผู้อื่นที่ปลูกถ่ายเข้ามาในร่างกาย การได้รับเลือดผิดหมู่ สารก่อภูมิแพ้ ฯลฯ สิ่งแปลกปลอมที่ร่างกายตรวจจับได้เรียกว่า แอนติเจน (antigen) แอนติเจนที่กระตุ้นการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันเรียกว่า อิมมูโนเจน (immunogen) สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกร่างกายเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ขนาดเล็กที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ส่วนใหญ่จุลินทรีย์ที่อยู่รอบตัวเหล่านี้ไม่ใช่เชื้อก่อโรคแต่ประการใด แต่ก็มีจุลินทรีย์อีกมากมายที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ เรียกว่าเชื้อโรค (pathogen) เพื่อป้องกันร่างกายจากเชื้อโรคเหล่านี้ มนุษย์มีระบบภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่อย่างทรงประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อโรคออกไป หากภูมิคุ้มกันบกพร่อง แม้จะพัฒนายาต้านจุลชีพที่ดีเลิศเพียงใด ก็อาจจะไม่สามารถรักษาชีวิตคนเราจากโรคติดเชื้อไว้ได้ เพราะการที่จะหายจากโรคติดเชื้อได้นั้น ภูมิคุ้มกันในร่างกายเป็นผู้ช่วยตัวสำคัญที. ูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน B1 สูตรโครงสร้างของอะฟลาทอกซิน G1 อะฟลาทอกซิน (aflatoxins) เป็นสารเคมีมีพิษและก่อมะเร็งที่ผลิตจากราบางชนิด (Aspergillus flavus และ Aspergillus parasiticus) ซึ่งเจริญในดิน พืชพรรณที่ย่อยสลาย ฟางและเมล็ดพืช มักพบในโภคภัณฑ์สำคัญที่เก็บอย่างไม่เหมาะสม เช่น มันสำปะหลัง พริกไทย ข้าวโพด เมล็ดฝ้าย ข้าวเดือย ถั่วลิสง ข้าวฟ่าง เมล็ดดอกทานตะวัน ผลเปลือกแข็งเมล็ดเดียว ข้าวสาลี และเครื่องเทศหลายชนิด เมื่ออาหารที่ปนเปื้อนถูกแปรรูป อะฟลาทอกซินจะเข้าสู่แหล่งอาหารทั่วไปซึ่งมีการพบทั้งในอาหารคนและสัตว์ เช่นเดียวกับในอาหารสัตว์สำหรับสัตว์ทางการเกษตร สัตว์ที่ได้อาหารที่ปนเปื้อนสามารถผ่านผลิตภัณฑ์การแปลงอะฟลาทอกซินสู่ไข่ ผลิตภัณฑ์นมและเนื้อสัตว์ได้ เด็กได้รับผลกระทบจากการสัมผัสอะฟลาทอกซินมากเป็นพิษ ทำให้การเติบโตช้า พัฒนาการช้า ตับเสียหายและมะเร็งตับ ผู้ใหญ่มีความทนต่อการสัมผัสมากกว่า แต่ก็ยังมีความเสี่ยง ไม่มีสัตว์ชนิดใดมีภูมิต้านทาน อะฟลาทอกซฺนจัดเป็นสารก่อมะเร็งได้มากที่สุดชนิดหนึ่งเท่าที่ทราบ หลังเข้าสู่ร่างกาย อะฟลาทอกซินจะถูกตับสร้างและสลายเป็นสารตัวกลางอีพอกไซด์กัมมันต์หรือถูกย่อยสลายด้วยน้ำกลายเป็นอะฟลาทอกซิน เอ็ม1 ซึ่งเป็นอันตรายน้อยกว่า อะฟลาทอกซินส่วนใหญ่ได้จากการกิน แต่อะฟลาทอกซินชนิดบี1 ซึ่งเป็นพิษมากที่สุด สามารถผ่านเข้าทางผิวหนังได้ ค่าระดับการแสดงฤทธิ์ที่องค์การอาหารและยาสหรัฐ (FDA) กำหนดสำหรับอะฟลาทอกซินในอาหารหรืออาหารสัตว์อยู่ที่ 20 ถึง 300 ส่วนต่อพันล้านส่วน FDA ยังสามารถประกาศเรียกคืนอาหารคนและสัตว์ได้เป็นมาตรการล่วงหน้าเพื่อป้องกันการสัมผัส คำว่า "อะฟลาทอกซิน" มาจากชื่อของราตัวหนึ่งที่ผลิตสารนี้ คือ Aspergillus flavus มีการประดิษฐ์คำนี้ประมาณ..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน

ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): รา

รา

รา หรือ เชื้อรา เป็นสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรเห็ดราซึ่งโตในรูปของใยหลายเซลล์ที่เรียกว่า ไฮฟา ในทางตรงกันข้าม ราที่สามารถเติบโตในรูปแบบของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวจะเรียกว่า ยีสต์ รามีความหลากหลายทางชีวภาพมาก ซึ่งการเติบโตของไฮฟา ทำให้เกิดรูปร่างที่ผิดแปลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบนอาหาร รามีโครโมโซมเพียงชุดเดียว (haploid) มีผนังเซลล์ ส่วนใหญ่ประกอบด้วยไคติน (chitin) ไม่มีคลอโรฟิลล์ ดำรงชีพแบบ saprophyte คือ หลั่งเอนไซม์ออกนอกเซลล์ เพื่อย่อยสลายสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่และซับซ้อนให้ได้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดแล้วจึงดูดซับเข้าไปภายในเซลล์ ราถูกจัดให้เป็นจุลินทรีย์ และไม่ถูกจำแนกออกไปยังอีกกลุ่มหนึ่ง แต่สามารถพบได้ในส่วนไซโกไมโคตาและอาสโกไมโคตา ในอดีต ราถูกจัดให้อยู่ภายในกลุ่มดิวเทอโรไมโคต.

ระบบภูมิคุ้มกันและรา · ราและอะฟลาทอกซิน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน

ระบบภูมิคุ้มกัน มี 62 ความสัมพันธ์ขณะที่ อะฟลาทอกซิน มี 13 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 1.33% = 1 / (62 + 13)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบภูมิคุ้มกันและอะฟลาทอกซิน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: