โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา

ระบบธนาคารกลางสหรัฐ vs. รัฐอะแลสกา

ระบบธนาคารกลางสหรัฐ (Federal Reserve (System) หรือ Fed) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 1913 ด้วยการตรารัฐบัญญัติธนาคารกลาง หลังเกิดวิกฤตการเงินขึ้นหลายครั้ง (โดยเฉพาะวิกฤตการเงินปี 1907) นำให้มีความต้องการควบคุมกลางซึ่งระบบการเงินเพื่อบรรเทาวิกฤตการเงิน เหตุการณ์ในเวลาต่อมาอย่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 1930 และภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ในคริสต์ทศวรรษ 2000 นำสู่การขยายบทบาทและความรับผิดชอบของระบบธนาคารกลาง รัฐสภาสหรัฐตั้งวัตถุประสงค์สำคัญสามข้อสำหรับนโยบายการเงินในรัฐบัญญัติธนาคารกลาง ได้แก่ การเพิ่มการจ้างงานให้สูงสุด การรักษาเสถียรภาพราคา และการรักษาอัตราดอกเบี้ยระยะยาว วัตถุประสงค์สองข้อแรกบางทีเรียก อาณัติคู่ของธนาคารกลาง หน้าที่ของธนาคารฯ ขยายขึ้นตามเวลา และในปี 2009 ยังรวมถึงการควบคุมดูแลและการวางระเบียบธนาคาร การรักษาเสถียรภาพของระบบการเงิน และให้บริการทางการเงินแก่สถาบันรับฝาก รัฐบาลสหรัฐและสถาบันราชการของต่างประเทศ ระบบธนาคารกลางวิจัยเศรษฐกิจและให้สิ่งพิมพ์เผยแพร่ต่าง ๆ ได้แก่ หนังสือเบจ (Beige Book) และฐานข้อมูลเฟรด ระบบธนาคารกลางประกอบด้วยหลายชั้น มีคณะกรรมการผู้ว่าการธนาคารหรือคณะกรรมการระบบธนาคารกลางซึ่งมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีเป็นผู้บริหาร ธนาคารระบบธนาคารกลางภูมิภาคสิบสองแห่ง ซึ่งตั้งอยู่ในนครต่าง ๆ ทั่วประเทศ ควบคุมดูแลธนาคารสมาชิกของสหรัฐที่เอกชนเป็นเจ้าของ กฎหมายกำหนดให้ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตระดับชาติถือครองหลักทรัพย์ในธนาคารระบบธนาคารกลางในภูมิภาคของตน ซึ่งทำให้ธนาคารเหล่านั้นมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกคณะกรรมการบางส่วนได้ คณะกรรมการตลาดเสรีกลาง (Federal Open Market Committee) กำหนดนโยบายการเงิน ประกอบด้วยสมาชิกคณะกรรมการผู้ว่าการทั้งเจ็ดคน และประธานธนาคารภูมิภาคสิบสองคน แม้ครั้งหนึ่ง ๆ ประธานธนาคารเพียงห้าคนเท่านั้นที่สามารถออกเสียงลงคะแนนได้ ได้แก่ ประธานระบบธนาคารกลางนิวยอร์กหนึ่งคนและประธานธนาคารอื่นอีกสี่คนหมุนเวียนกันโดยมีวาระละ 1 ปี นอกจากนี้ ยังมีสภาที่ปรึกษาต่าง ๆ ฉะนั้น ระบบธนาคารกลางสหรัฐจึงมีทั้งส่วนภาครัฐและเอกชน โครงสร้างดังกล่าวถือว่าเป็นเอกลักษณ์ต่างจากธนาคารกลางประเทศอื่น นอกจากนี้ ยังผิดปกติที่กระทรวงการคลังสหรัฐ ซึ่งเป็นหน่วยงานนอกธนาคารกลาง พิมพ์เงินตราที่หมุนเวียน แม้ระบบธนาคารกลางจะเป็นเครื่องมือหนึ่งของรัฐบาลสหรัฐ แต่ระบบธนาคารกลางถือตนว่าเป็น "ธนาคารกลางอิสระเพราะการตัดสินใจนโยบายการเงินไม่จำเป็นต้องได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดีหรือบุคคลอื่นใดในอำนาจบริหารหรือสภานิติบัญญัติ ไม่ได้รับสนับสนุนเงินทุนจากรัฐสภา และวาระของสมาชิกคณะกรรมการผู้ว่าการกินเวลาหลายวาระของประธานาธิบดีและรัฐสภา" รัฐบาลกลางกำหนดเงินเดือนของผู้ว่าการทั้งเจ็ดคนของคณะกรรมการ รัฐบาลกลางได้รับกำไรประจำปีทั้งหมดของระบบ หักการจ่ายเงินปันผลตามกฎหมาย 6% แก่การลงทุนของธนาคารสมาชิก และคงบัญชีเกินดุลแล้ว ในปี 2015 ระบบธนาคารกลางฯ สร้างกำไร 100,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และโอน 97,700 ล้านดอลลาร์สหรัฐแก่กระทรวงการคลัง. รัฐอะแลสกา (State of Alaska) รวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวกับสหรัฐอเมริกา นับเป็นรัฐที่ 49 มีจำนวนประชากร 626,932 คน (พ.ศ. 2543) ชื่อ อะแลสกา นั้นน่าจะเพี้ยนมาจากคำในภาษาแอลิอุต ซึ่งเป็นภาษาท้องถิ่นว่า "Alyeska" แปลว่า "ดินแดนที่ไม่ใช่เกาะ".

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา

ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา

ระบบธนาคารกลางสหรัฐ มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ รัฐอะแลสกา มี 23 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (8 + 23)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบธนาคารกลางสหรัฐและรัฐอะแลสกา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »