โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา

ระบบชนิดตัวแปร vs. แคลคูลัสแลมบ์ดา

ระบบชนิดตัวแปร ในวิทยาการคอมพิวเตอร์ กำหนดว่าในภาษาโปรแกรมแบ่งค่าและตัวแปรออกเป็นชนิดอย่างไร ภาษาโปรแกรมจัดการกับตัวแปรและค่าชนิดต่างๆ อย่างไร และตัวแปรและค่าแต่ละชนิดสัมพันธ์กันอย่างไร ชนิดบ่งบอกกลุ่มของค่าที่มีชนิดเหมือนกันและมีจุดประสงค์ในการนำไปใช้เหมือนกัน หมวดหมู่:ชนิดข้อมูล หมวดหมู่:การวิเคราะห์โปรแกรม หมวดหมู่:ทฤษฎีแบบชนิด de:Typisierung (Informatik)#Typsystem. แคลคูลัสแลมบ์ดา (หรือ λ-calculus) เป็นระบบรูปนัยในคณิตตรรกศาสตร์ที่ใช้ในการคำนวณ พื้นฐานของระบบประกอบไปด้วยการสร้างฟังก์ชันและการเรียกใช้ฟังก์ชันโดยใช้การโยงของตัวแปรและการแทนที่ตัวแปร นักคณิตศาสตร์อลอนโซ เชิร์ชได้คิดค้นแคลคูลัสแลมบ์ดาขึ้นมาในช่วงปี 1930 เพื่อสำรวจหารากฐานของคณิตศาสตร์ แคลคูลัสแลมบ์ดาเป็นแบบจำลองสากลในการคำนวณเทียบเท่ากับเครื่องจักรทัวริง (ความเท่าเทียมกันของาองระบบทั้งสองรู้จักได้รับการพิสูจน์ในแนวคิดหลักของเชิร์ช–ทัวริงในปี 1937) คำว่า "แลมบ์ดา" ซึ่งเป็นอักขระกรีก (λ) ปรากฏในพจน์แลมบ์ดา (หรืออาจจะเรียกว่านิพจน์แลมบ์ดา) ซึ่งใช้ในการแสดงถึงการโยงตัวแปรในฟังก์ชัน แคลคูลัสแลมบ์ดามีสองรูปแบบ: แบบมีชนิดข้อมูล และ ไม่มีชนิดข้อมูล ในแคลคูลัสแลมบ์ดาที่มีชนิดข้อมูล ฟังก์ชันสามารถเรียกใช้ได้เมื่อชนิดของฟังก์ชันสอดคล้องกับชนิดของข้อมูลนำเข้าของฟังก์ชันเท่านั้น มีการนำแคลคูลัสแลมบ์ดาไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายด้านในคณิตศาสตร์ ปรัชญา ภาษาศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ แคลคูลัสแลมบ์ดายังมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาของทฤษฎีของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมแบบฟังชันเป็นผลมาจากแคลคูลัสแลม.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา

ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา

ระบบชนิดตัวแปร มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ แคลคูลัสแลมบ์ดา มี 9 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (4 + 9)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระบบชนิดตัวแปรและแคลคูลัสแลมบ์ดา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »