โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี vs. สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ร้อยตรีหญิงระนองรักษ์ สุวรรณฉวี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ในรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเว. มาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 (23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 480 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต 400 คน และการเลือกตั้งแบบสัดส่วน 80 คน ซึ่งมีการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 มี 9 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): บุรณัชย์ สมุทรักษ์พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)พรรคเพื่อไทยสมชาย วงศ์สวัสดิ์สมพงษ์ อมรวิวัฒน์สมัคร สุนทรเวชอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะจังหวัดนครราชสีมาจุติ ไกรฤกษ์

บุรณัชย์ สมุทรักษ์

นายแพทย์บุรณัชย์ สมุทรักษ์ (ชื่อเล่น: ท็อป) หรือที่สื่อมวลชนนิยมเรียกว่า หมอท็อป..บัญชีรายชื่อ และ อดีตโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2509 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ พล.อ.เมธี สมุทรักษ์ อดีตประธานคณะกรรมการที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการหน่วยข่าวกรองทางทหาร และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทิพย์วัลย์ สมุทรักษ์ อดีต.ว.สรรหา และ อดีตคณบดีคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

บุรณัชย์ สมุทรักษ์และระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · บุรณัชย์ สมุทรักษ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)

รรคชาติพัฒนา หรือในชื่อเดิมว่า รวมชาติพัฒนา และ รวมใจไทยชาติพัฒนา และ ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน เป็นพรรคการเมืองที่ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2550 โดยสมาชิกส่วนใหญ่เป็นสมาชิกจากพรรคการเมืองที่เคยมีอยู่แล้ว อาทิ กลุ่มของนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นต้น จัดตั้งเป็นพรรคการเมืองโดยรวม กลุ่มรวมใจไทย เข้ากับ พรรคชาติพัฒนา มีบุคคลสำคัญทางการเมืองหลายคนเข้าร่วม เช่น นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์, ดร.พิจิตต รัตตกุล, รศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์, นายอุทัย พิมพ์ใจชน, นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นต้น ในวันที่ 15 ตุลาคม..

พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)และระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2550)และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

พรรคเพื่อไทย

รรคเพื่อไทย (ย่อว่า: พท. Pheu Thai Party) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 โดยมี นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณีย์ 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของพรรคไทยรักไทย และพรรคพลังประชาชน (ย้ายมาจากอาคารนวสร ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล ถนนพระรามที่ 4 แขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ซึ่งเป็นสาขาพรรคพลังประชาชนเดิม.

พรรคเพื่อไทยและระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · พรรคเพื่อไทยและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

สมชาย วงศ์สวัสดิ์

มชาย วงศ์สวัสดิ์ (31 สิงหาคม พ.ศ. 2490 —) เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 26 ของประเทศไทย เป็นอดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้พิพากษา อดีตปลัดกระทรวงยุติธรรม อดีตปลัดกระทรวงแรงงาน ในขณะที่สมชายดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้นเขาไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ในทำเนียบรัฐบาล เพราะพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยังคงยึดพื้นที่ไว้ตั้งแต่ในสมัยรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช โดยใช้สนามบินดอนเมืองเป็นที่ทำการแทน.

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมชาย วงศ์สวัสดิ์ · ดูเพิ่มเติม »

สมพงษ์ อมรวิวัฒน์

นายสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ (3 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 -) อดีตรองนายกรัฐมนตรี อดีตรัฐมนตรีหลายกระทรวง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ระบบสัดส่วน สังกัดพรรคพลังประชาชน อดีตรองหัวหน้าพรรคสามัคคีธรรม และอดีตแกนนำกลุ่ม 16.

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมพงษ์ อมรวิวัฒน์ · ดูเพิ่มเติม »

สมัคร สุนทรเวช

มัคร สุนทรเวช (ชื่อจีน: 李沙馬 Lǐ Shāmǎ; 13 มิถุนายน พ.ศ. 2478 – 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552) เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 25 และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม หัวหน้าพรรคพลังประชาชน อดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร และผู้ก่อตั้งพรรคประชากรไทย เกิดที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักการเมืองเก่าแก่ ที่มีเสียงพูดและลีลาการพูดเป็นเอกลักษณ์ เคยดำรงตำแหน่งสำคัญมากมาย เช่น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม (2 สมัย) ได้ฉายาจากสื่อมวลชนทั่วไปว่า "น้าหมัก" "ออหมัก" หรือ "ชมพู่" (มาจากลักษณะจมูกของสมัคร) "ชาวนา" (จากกรณีกลุ่มงูเห่า) เป็นต้น สมัครเริ่มทำงานหลังจบนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เป็นสื่อมวลชนสายการเมือง โดยเขียนบทความ และความคิดเห็น ทางการเมืองแบบไม่ประจำใน หนังสือพิมพ์สยามรัฐ, สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์ และชาวกรุง ตั้งแต..

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสมัคร สุนทรเวช · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และสมัคร สุนทรเวช · ดูเพิ่มเติม »

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หรือชื่อเกิดว่า มาร์ค อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ (ละติน: Mark Abhisit Vejjajiva) เกิด 3 สิงหาคม..

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23และอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ · ดูเพิ่มเติม »

จังหวัดนครราชสีมา

นครราชสีมา หรือรู้จักในชื่อ โคราช เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มากที่สุดในประเทศไทยและมีประชากรมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ชื่อเมืองนครราชสีมาปรากฏครั้งแรกเป็นเมืองพระยามหานครในการปฏิรูปการปกครองในรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ(ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา) ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงมีรับสั่งให้ย้ายเมืองนครราชสีมามาตั้งบริเวณพื้นที่ปัจจุบัน เมื่อ..

จังหวัดนครราชสีมาและระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · จังหวัดนครราชสีมาและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

จุติ ไกรฤกษ์

ติ ไกรฤกษ์ เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพิษณุโลกหลายสมั.

จุติ ไกรฤกษ์และระนองรักษ์ สุวรรณฉวี · จุติ ไกรฤกษ์และสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23

ระนองรักษ์ สุวรรณฉวี มี 40 ความสัมพันธ์ขณะที่ สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 มี 490 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 9, ดัชนี Jaccard คือ 1.70% = 9 / (40 + 490)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ระนองรักษ์ สุวรรณฉวีและสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 23 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »