ความคล้ายคลึงกันระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก มี 13 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กรุงเทพมหานครการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์สถานีสุขุมวิทสถานีหมอชิตสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)ถนนรัชดาภิเษกเขตวัฒนาเขตคลองเตย
กรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงและนครที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา การคมนาคมขนส่ง การเงินการธนาคาร การพาณิชย์ การสื่อสาร และความเจริญของประเทศ เป็นเมืองที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก ตั้งอยู่บนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเจ้าพระยา มีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านและแบ่งเมืองออกเป็น 2 ฝั่ง คือ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานครมีพื้นที่ทั้งหมด 1,568.737 ตร.กม.
กรุงเทพมหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · กรุงเทพมหานครและสถานีอโศก ·
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยและสถานีอโศก ·
รถไฟฟ้าบีทีเอส
รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542.
รถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้าบีทีเอสและสถานีอโศก ·
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม. หรือ MRTA) เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ส่วนต่อขยายเดิมช่วงเตาปูน-บางใหญ่, สายสีม่วงเดิม ช่วงหอสมุดแห่งชาติ-เตาปูน และสายสีส้มเดิม ช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-ราษฎร์บูรณะ มาเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน กลายเป็นรถไฟฟ้าเส้นทางใหม่ที่กำหนดให้เป็นสายสีม่วง บรรจุในแผนแม่บทฯ ของสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 นาม ฉลองรัชธรรม เป็นชื่อที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเพื่อเป็นชื่ออย่างเป็นทางการของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง ระยะแรก สายคลองบางไผ่-นนทบุรี-เตาปูน มีความหมายว่า “เฉลิมฉลองพระราชาที่ปกครองโดยธรรม” โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยได้ยื่นเรื่องขอพระราชทานชื่อเส้นทาง เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี และเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพืธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม..
รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมและสถานีอโศก ·
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล
| open.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก ·
สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
นีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ (รหัส SRI) หรือสถานีศูนย์ฯ สิริกิติ์ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนรัชดาภิเษก-พระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณด้านหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ มีทำเลอยู่ใจกลางย่านธุรกิจ ใกล้กับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สวนเบญจกิติ และตลาดคลองเต.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ · สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์และสถานีอโศก ·
สถานีสุขุมวิท
นีสุขุมวิท เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีอโศก ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท นอกจากนี้ สถานีสุขุมวิท ยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากที่สุดของ.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีสุขุมวิท · สถานีสุขุมวิทและสถานีอโศก ·
สถานีหมอชิต
นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหมอชิต · สถานีหมอชิตและสถานีอโศก ·
สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)
นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร) · สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)และสถานีอโศก ·
สถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร)
นีเพชรบุรี (รหัส PET) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศก-ดินแดง กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศก-เพชรบุรี เป็นสถานีเชื่อมต่อรถไฟฟ้าเชื่อมต่อท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ที่ สถานีรับส่งผู้โดยสารอากาศยานในเมือง หรือสถานีมักกะสัน (อโศก).
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) · สถานีอโศกและสถานีเพชรบุรี (รถไฟฟ้ามหานคร) ·
ถนนรัชดาภิเษก
นนรัชดาภิเษก (Thanon Ratchadaphisek) เป็นถนนวงแหวนรอบในของกรุงเทพมหานคร เริ่มจากสะพานข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านสะพานกรุงเทพ ตัดผ่านถนนพระรามที่ 3 ถนนสุขุมวิท ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม 9 ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรังสิต ถนนประชาชื่น ถนนกรุงเทพฯ-นนทบุรี ข้ามสะพานพระราม 7 เข้าเขตอำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ตัดกับถนนบางกรวย-ไทรน้อย ลอดใต้สะพานพระราม 6 เข้าเขตกรุงเทพมหานคร รวมกับถนนจรัญสนิทวงศ์ และมาบรรจบที่ทางแยกท่าพร.
ถนนรัชดาภิเษกและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล · ถนนรัชดาภิเษกและสถานีอโศก ·
เขตวัฒนา
ตวัฒนา เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ และการทูต.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตวัฒนา · สถานีอโศกและเขตวัฒนา ·
เขตคลองเตย
ตลาดคลองเตย เขตคลองเตย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตเจ้าพระยา ซึ่งถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม.
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและเขตคลองเตย · สถานีอโศกและเขตคลองเตย ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก
การเปรียบเทียบระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก
รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล มี 187 ความสัมพันธ์ขณะที่ สถานีอโศก มี 29 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 13, ดัชนี Jaccard คือ 6.02% = 13 / (187 + 29)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลและสถานีอโศก หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: