เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

รถไฟฟ้ามหานคร

ดัชนี รถไฟฟ้ามหานคร

รถไฟฟ้ามหานคร (Metropolitan Rapid Transit, MRT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่ดำเนินการโดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลนอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (รถไฟฟ้าบีทีเอส) ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) รถไฟฟ้ามหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และสายฉลองรัชธรรม.

สารบัญ

  1. 76 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2547กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)กรุงเทพมหานครและปริมณฑลการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครระบบขนส่งมวลชนเร็วรางที่สามรถไฟชานเมืองรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มรถไฟฟ้าบีทีเอสรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลมรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้มรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรมรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคลรถไฟฟ้าสายสีชมพูรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาลรถไฟฟ้าสายสีเหลืองรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออกศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีลาดพร้าวสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสถานีสวนจตุจักรสถานีสามยอดสถานีสำโรงสถานีสุขุมวิทสถานีสีลมสถานีหมอชิตสถานีหลักสองสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)สถานีอิสรภาพสถานีท่าพระสถานีคลองบางไผ่สถานีเพชรบุรีส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอสอำเภอบางบัวทองอำเภอพระประแดงอำเภอกระทุ่มแบนอำเภอลำลูกกาอำเภอเมืองสมุทรปราการอำเภอเมืองนนทบุรีอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยจังหวัดสมุทรสาครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดนนทบุรีถนนรามคำแหงถนนลาดพร้าว... ขยายดัชนี (26 มากกว่า) »

พ.ศ. 2547

ทธศักราช 2547 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2004 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน เป็นปีอธิกมาส ปกติวาร ตามปฏิทินไทยจันทรคติ และกำหนดให้เป็น.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและพ.ศ. 2547

กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานคร (ย่อ: กทม.; Bangkok Metropolitan Administration, BMA) เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ซึ่งทำหน้าที่บริหารเขตการปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร ตามกฎหมายปัจจุบันคือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและกรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล

กรุงเทพมหานครและปริมณฑล กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (Bangkok Metropolitan Region)NESDB, Bangkok Metropolitan Region Study, 1985 เป็นเขตเมืองของกรุงเทพมหานครและจังหวัดที่ตั้งอยู่โดยรอบ ("ปริมณฑล" หมายถึง วงรอบ) ครอบคลุมพื้นที่กว่า 7 พันตารางกิโลเมตร แม่น้ำสายสำคัญที่ไหลผ่าน ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยาและแม่น้ำท่าจีน มีประชากรตามหลักฐานทะเบียนราษฎรรวมกันประมาณ 10 ล้านกว่าคน (เดือนธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย หรือ รฟม. (Mass Rapid Transit Authority of Thailand ย่อว่า MRTA) เป็นรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงคมนาคม มีภาระหน้าที่ในการจัดให้มี และให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และจังหวัดอื่นๆ รฟม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร (Bangkok Mass Transit, BMT) เป็นระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร ที่ดำเนินการโดยกรุงเทพมหานคร (กทม., BMA) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด (KT) โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล นอกเหนือไปจากระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนอื่น ได้แก่ ระบบรถไฟฟ้ามหานคร ของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง ของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครที่เปิดให้บริการแล้วในปัจจุบันได้แก่ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร

ระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รถไฟฟ้าใต้ดินในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ระบบขนส่งมวลชนเร็ว (rapid transit) หรือที่มักเรียกว่า รถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน (subway, underground) รถไฟในเมือง (metro) รถไฟรางหนัก (heavy rail) มักจะมีในเมืองใหญ่ที่สำคัญทั่วโลก รถไฟฟ้าใต้ดินที่เก่าแก่ที่สุดในโลกอยู่ที่กรุงลอนดอน เปิดใช้เมื่อ พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและระบบขนส่งมวลชนเร็ว

รางที่สาม

รางที่สามที่สถานีใกล้กรุงวอชิงตัน ดีซี มีแรงดันที่ 750V DC รางที่สามอยู่บนสุดของภาพมีกันสาดสีขาว สองรางล่างเป็นรางวิ่งทั่วไป กระแสจากรางที่สามวิ่งกลับสถานีจ่ายไฟด้วยรางวิ่งนี้ รางที่สาม เป็นรางตัวนำลักษณะกึ่งแข็งที่มีกระแสไฟฟ้าเพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าให้กับขบวนรถไฟอย่างต่อเนื่อง รางนี้จะถูกวางที่ด้านข้างหรือระหว่างรางวิ่งของรถไฟ โดยทั่วไปมันมักจะถูกใช้ในระบบขนส่งมวลชนหรือระบบรถไฟฟ้าขนส่งความเร็วสูง ส่วนใหญ่รางที่สามจะจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ระบบรถไฟฟ้ามหานครกรุงเทพ ใช้ไฟ 750 VDC ระบบรางที่สามของการจ่ายไฟฟ้าโดยทั่วไปไม่มีความเกี่ยวข้องกับระบบรางที่สามที่ใช้ในการรถไฟ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรางที่สาม

รถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้าชานเมืองในนครนิวยอร์ก รถไฟชานเมือง หรือ รถไฟฟ้าชานเมือง เป็นรถไฟโดยสารที่ให้บริการระหว่างใจกลางเมือง ไปจนถึงชานเมืองที่มีระยะไม่เกิน 15 กิโลเมตร หรือ 10 ไมล์ หรือเป็นเมืองที่มีผู้คนเข้ามาทำงานในใจกลางเมืองมาก โดยรถไฟจะวิ่งตามกำหนดเวลา มีความเร็วสูงสุดตั้งแต่ 50 ไปจนถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง การรถไฟแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของรถไฟชานเมือง ว่า เป็นขบวนรถที่จัดเดินเพื่อให้บริการแก่ผู้โดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รัศมีไม่เกิน 160 กม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟชานเมือง

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน หรือ รถไฟชานเมืองสายตะวันออก-ตะวันตก เป็นโครงการรถไฟชานเมืองในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศตะวันตก-ตะวันออก โดยตามแผนแม่บท พื้นที่โครงการจะมีระยะทาง 127.5 กิโลเมตรคำนวณระยะทางจาก ช่วงนครปฐม-ตลิ่งชัน 43 กม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม (บ้านภาชี-มหาชัย) เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ซึ่งเป็นเส้นทางรถไฟที่เป็นแกนหลักของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) มีแนวเส้นทางตามแกนหลักทิศเหนือ-ทิศใต้/ตะวันตกเฉียงใต้ พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่ในเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม มีแผนงานรวม 114.3 กม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม

รถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (Elevated Train in Commemoration of HM the King's 6th Cycle Birthday) หรือชื่อที่เรียกกันทั่วไปว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร, จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร และสัญญาว่าด้วยความเข้าใจกับการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 1 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร, จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 2 หรือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม หรือ รถไฟฟ้าสายสีเขียวเข้ม เป็นส่วนหนึ่งของแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยจะครอบคลุมพื้นที่ทั้งฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เปิดให้บริการครั้งแรกในปี..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม (Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดิน และยกระดับ มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตก เริ่มต้นจากสถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน ชานเมืองด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ฝั่งธนบุรี เข้าสู่ย่านบางกอกน้อย แล้วลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยา เข้าสู่ย่านเมืองเก่าในเขตพระนคร, ป้อมปราบศัตรูพ่าย และดุสิต ผ่านสถานที่สำคัญเช่น สนามหลวง, ถนนราชดำเนิน, ภูเขาทอง, ตลาดมหานาค เข้าสู่ใจกลางเมืองย่านราชเทวี, ประตูน้ำ, ดินแดง ไปยังชุมชนประชาสงเคราะห์, ถนนวัฒนธรรม ออกสู่ถนนรามคำแหง, บางกะปิ, สะพานสูง มาสิ้นสุดเส้นทางที่เขตมีนบุรี ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯเอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล: การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (Metropolitan Rapid Transit Chalong Ratchadham Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง (MRT Purple Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

| open.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

รถไฟฟ้าสายสีชมพู

รงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยว (monorail) เป็นระบบหลัก เป็นโครงการรถไฟฟ้าโครงการหนึ่งตามแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้ามหานคร โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ในระยะแรกโครงการดังกล่าวมีระยะทางรวมทั้งสิ้น 27 กิโลเมตร แต่ต่อมาก็ได้มีการขยายต้นทางจากปากเกร็ดมายังแคราย เพื่อเชื่อมกับโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ทำให้เส้นทางของโครงการเริ่มต้นที่ศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดที่มีนบุรี ระยะทางรวมประมาณ 34–36 กิโลเมตร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าสายสีชมพู

รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล

รงการรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล (แคราย-บึงกุ่ม) เป็นโครงการศึกษาเพื่อก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อบรรจุลงในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระยะที่สอง (M-Map Phase 2) โครงการได้รับการกำหนดให้ใช้ระบบรถไฟฟ้ารางเดี่ยวหรือรถไฟฟ้าโมโนเรล มีระยะทางทั้งสิ้น 21 กิโลเมตร ในเบื้องต้นมีการพิจารณาระบบที่จะนำมาใช้ในรูปแบบทางด่วน แต่ล่าสุดได้ยกเลิกโครงการทางด่วนไป และเป็นไปได้ว่าจะจัดสร้างเป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวแบบยกระดับ โดยรถไฟฟ้าสายนี้จะเชื่อมต่อโครงข่ายรถไฟฟ้าหลักอีก 5 เส้นทาง ได้แก่ รถไฟฟ้าสายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีม่วง รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล

รถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ซึ่งกระทรวงคมนาคมโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจรได้เร่งรัดแผนงานจากกำหนดการเดิมในปี..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าสายสีเหลือง

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เริ่มเปิดให้บริการเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

วรรณภูมิ รถไฟฟ้า City Line รถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก (กรุงเทพมหานคร-ระยอง-ตราด) (Eastern High Speed Train) หรือ โครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน เดิมคือ โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรถไฟเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ หรือ รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตเรลลิงก์ เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนแบบพิเศษ ที่เป็นส่วนหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง และ รถไฟความเร็วสูง เป็นส่วนหนึ่งของโครงการระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการระบบรถไฟความเร็วสูง ดำเนินการก่อสร้างโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) และเปิดดำเนินการเชิงพาณิชย์โดย บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและรถไฟความเร็วสูงสายตะวันออก

ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

ูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ตั้งอยู่ที่ถนนแจ้งวัฒนะ เป็นสถานที่ที่รวมหน่วยงานราชการต่างๆไว้ในที่เดียวกัน รวมทั้งสิ้น 29 หน่วยงาน เช่น กระทรวงยุติธรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นต้น โดยมีแนวคิดในการบริหารพื้นที่ราชพัสดุ และทรัพยากรของราชการร่วมกันเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารศูนย์ราชการ ในวันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550

สถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีบางซื่อ (รหัส BAN) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล บริเวณสถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีบางซื่อ (รถไฟฟ้ามหานคร)

สถานีลาดพร้าว

นีลาดพร้าว เป็นสถานีรถไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ที่บริเวณสี่แยกรัชดา-ลาดพร้าว หรือจุดตัดระหว่าง ถนนรัชดาภิเษก และ ถนนลาดพร้าว ในพื้นที่แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทาง รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ทั้งสองสถานีเป็นสถานีที่อยู่ภายใต้การดูแลของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไท.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีลาดพร้าว

สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

นีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รหัส CUL) หรือสถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ที่ถนนรัชดาภิเษก-ห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ในย่านธุรกิจ ศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และอยู่ใกล้สถานที่สำคัญด้านศิลปวัฒนธรรม เช่นศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชุมทางรถไฟฟ้าในทิศทางจากสถานีห้วยขวางขึ้นบนระดับพื้นดิน เข้าสู่ ศูนย์ซ่อมบำรุงรถไฟฟ้ามหานคร ห้วยขวาง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย

สถานีสวนจตุจักร

นีสวนจตุจักร เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากสามารถเชื่อมต่อกับสถานีหมอชิต ซึ่งเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ได้โดยตรง และมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีสวนจตุจักร

สถานีสามยอด

นีสามยอด (Sam Yot Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล และรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีในระบบใต้ดินที่อยู่ภายในอาณาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์รอบนอก ในแนวถนนเจริญกรุงตัดกับถนนมหาไชยที่แยกสามยอด จนถึงถนนเจริญกรุงตัดกับถนนอุณากรรณและถนนบูรพาที่แยกอุณากรรณ ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีสามยอด

สถานีสำโรง

นีสำโรง เป็นสถานีรถไฟฟ้าในอำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ในเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท และรถไฟฟ้าสายสีเหลือง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีสำโรง

สถานีสุขุมวิท

นีสุขุมวิท เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนอโศกมนตรี กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกอโศกมนตรี เป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีอโศก ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท นอกจากนี้ สถานีสุขุมวิท ยังเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่มีผู้โดยสารมาใช้บริการมากที่สุดของ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีสุขุมวิท

สถานีสีลม

นีสีลม (รหัส SIL) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสี่แยกศาลาแดง มีทำเลอยู่ใจกลางเมืองในย่านธุรกิจถนนสีลม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีสีลม

สถานีหมอชิต

นีหมอชิต เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา (รถไฟฟ้าบีทีเอส) สายสุขุมวิท ยกระดับเหนือถนนพหลโยธิน กรุงเทพมหานคร บริเวณหน้าสวนจตุจักร เป็นจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สำคัญของกรุงเทพฯ ด้านเหนือ เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางของรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ซึ่งมีลานจอดรถขนาดใหญ่ให้บริการผู้โดยสาร และยังสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปยังสถานีสวนจตุจักร ของรถไฟฟ้ามหานครได้ นอกจากนี้ยังอยู่ไม่ไกลจากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) หรือหมอชิตใหม่ สถานีขนส่งสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งสามารถเดินทางต่อไปได้ด้วยรถประจำทางและแท็กซี่ โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร ก่อนจะเข้าสู่ย่านลาดพร้าวซึ่งเป็นพื้นที่ในความรับผิดชอบของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ที่จะดำเนินการก่อสร้างส่วนต่อขยายต่อไปจนถึงย่านลำลูกกาในอนาคต.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีหมอชิต

สถานีหลักสอง

นีหลักสอง (Lak Song Station, รหัส BS20) เป็นโครงการสถานีรถไฟฟ้าลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย หัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการยังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยสถานีจะยกระดับเหนือถนนเพชรเกษม.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีหลักสอง

สถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

นีหัวลำโพง เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีหัวลำโพง (รถไฟฟ้ามหานคร)

สถานีอิสรภาพ

นีอิสรภาพ (Itsaraphap Station) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ซึ่งโครงการอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีแรกและสถานีเดียวของสายเฉลิมรัชมงคลที่มีเขตที่ตั้งอยู่ที่ฝั่งธนบุรี ในแนวตัดขวางกับถนนอิสรภาพ บริเวณซอยอิสรภาพ 36 สถานีนี้เป็นสถานีสุดท้ายของส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค ที่เป็นสถานีใต้ดิน ก่อนยกระดับเข้าสู่สถานีท่าพระต่อไป อีกทั้งยังเป็นสถานีที่เชื่อมต่อไปยังอุโมงค์ลอดใต้เแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อข้ามไปฝั่งพระนคร คือ สถานีสนามไชย อีกด้ว.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีอิสรภาพ

สถานีท่าพระ

นีท่าพระ เป็นสถานีรถไฟฟ้าในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยาย ซึ่งโครงการยังอยู่ระหว่างการก่อสร้าง โดยเป็นสถานีที่เชื่อมต่อทั้งสองส่วนของสายเฉลิมรัชมงคลเข้าไว้ดัวยกัน ก่อให้เกิดเป็นเส้นทางรถไฟฟ้าวงแหวนภายในเขตกรุงเทพมหานครชั้นกลางและชั้นใน ยกระดับเหนือแยกท่าพระ บริเวณจุดตัดระหว่าง ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนเพชรเกษม และถนนรัชดาภิเษกฝั่งใต้ ในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีท่าพระ

สถานีคลองบางไผ่

นีคลองบางไผ่ (อังกฤษ: Khlong Bangphai Station, รหัส PP01) เป็นสถานีรถไฟลอยฟ้า ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ที่ถนนกาญจนาภิเษก อำเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่บริเวณใกล้แหล่งชุมชนบริเวณนอกพื้นที่เศรษฐกิจอำเภอบางใหญ่ โดยเป็นสถานีต้นทางของรถไฟฟ้าสายนี้.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีคลองบางไผ่

สถานีเพชรบุรี

นีเพชรบุรี สามารถหมายความถึง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและสถานีเพชรบุรี

ส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้าบีทีเอส (BTS Skytrain) เป็นระบบขนส่งมวลชนแบบรางในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือบีทีเอสซี (BTSC) และบริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด หรือ เคที (KT) ภายใต้สัมปทานของกรุงเทพมหานคร เริ่มเปิดให้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าบีทีเอส

อำเภอบางบัวทอง

งบัวทอง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดนนทบุรี ในอดีตมีพื้นที่กว้างใหญ่มากโดยคลุมพื้นที่อำเภอไทรน้อย อำเภอบางใหญ่ และบางส่วนของอำเภอปากเกร็ด (ปัจจุบันแยกออกไปแล้ว) มีประวัติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอบางบัวทอง

อำเภอพระประแดง

ระประแดง เป็นอำเภอที่มีขนาดพื้นที่เล็กที่สุดในจังหวัดสมุทรปราการ ในอดีตมีฐานะเป็นศูนย์กลางของจังหวัดพระประแดง แต่ต่อมาถูกยุบรวมเข้ากับจังหวัดสมุทรปราการดังเช่นปัจจุบัน.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอพระประแดง

อำเภอกระทุ่มแบน

กระทุ่มแบน เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรสาคร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอกระทุ่มแบน

อำเภอลำลูกกา

ลำลูกกา เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอลำลูกกา

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

มืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไท.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอเมืองสมุทรปราการ

อำเภอเมืองนนทบุรี

มืองนนทบุรี เป็นอำเภอศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา เศรษฐกิจ และการสาธารณสุขของจังหวัดนนทบุรี.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอำเภอเมืองนนทบุรี

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย เป็นอนุสาวรีย์ที่ตั้งอยู่กึ่งกลางวงเวียนระหว่างถนนราชดำเนินกลางกับถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็นระบอบประชาธิปไตย การก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเริ่มขึ้นในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

จังหวัดสมุทรสาคร

ังหวัดสมุทรสาคร เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย อยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ได้รับการจัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดตามพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและจังหวัดสมุทรสาคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย และยังเป็นจังหวัดในเขตปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดย พระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและจังหวัดสมุทรปราการ

จังหวัดนนทบุรี

ังหวัดนนทบุรี เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นครั้งล่าสุดโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและจังหวัดนนทบุรี

ถนนรามคำแหง

นนรามคำแหง (Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนรามคำแหง

ถนนลาดพร้าว

นนลาดพร้าว (Thanon Lat Phrao) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นที่ห้าแยกลาดพร้าว (หรือที่นิยมเรียกว่า "ปากทางลาดพร้าว") ในพื้นที่เขตจตุจักร ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธินและถนนวิภาวดีรังสิต มีทิศทางมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษก ผ่านพื้นที่เขตห้วยขวางในระยะสั้น ๆ เข้าพื้นที่เขตวังทองหลาง ผ่านแยกถนนโชคชัย 4 (ลาดพร้าว 53) ซอยลาดพร้าว 71 และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าพื้นที่ระหว่างเขตวังทองหลางกับเขตบางกะปิ ผ่านแยกถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) เข้าพื้นที่เขตบางกะปิ ผ่านสามแยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ไปสิ้นสุดที่สี่แยกบางกะปิตัดกับถนนนวมินทร์และถนนพ่วงศิริ โดยจากแยกนี้ไปจะเป็นถนนเสรีไทย ในปี..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนลาดพร้าว

ถนนศรีนครินทร์

นนศรีนครินทร์ (Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 4-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนศรีนครินทร์

ถนนงามวงศ์วาน

นนงามวงศ์วาน ถนนงามวงศ์วาน (Thanon Ngam Wong Wan) เป็นถนนสายหนึ่งในจังหวัดนนทบุรีและกรุงเทพมหานคร มีระยะทางเริ่มจากทางแยกแครายซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนติวานนท์และถนนรัตนาธิเบศร์ ในท้องที่ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออก ผ่านบริเวณปากซอยงามวงศ์วาน 2 (อัคนี) เข้าเขตตำบลบางเขน ตัดกับทางพิเศษศรีรัช (ทางด่วนขั้นที่ 2) ตรงไปทางทิศเดิม ข้ามคลองประปาและตัดกับถนนประชาชื่นเข้าสู่ท้องที่แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร จากนั้นแนวเส้นทางเริ่มโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ข้ามคลองบางเขนเข้าสู่ท้องที่แขวงลาดยาว เขตจตุจักร ข้ามคลองเปรมประชากร ตัดกับถนนกำแพงเพชร 6 ทางรถไฟสายเหนือ และถนนวิภาวดีรังสิตที่ทางแยกบางเขน ผ่านมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกเกษตรซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนพหลโยธิน โดยมีแนวถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนงามวงศ์วานเป็นถนนที่กรมทางหลวงตัดขึ้นและตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายดำรง งามวงศ์วาน อดีตนายช่างกำกับหมวดนนทบุรี กรมทางหลวง ซึ่งเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ ตามนโยบายของจอมพล ป.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนงามวงศ์วาน

ถนนประเสริฐมนูกิจ

นนประเสริฐมนูกิจ หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 351 สายมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–คันนายาว หรือที่นิยมเรียกกันว่า ถนนเกษตร-นวมินทร์ เป็นเส้นทางจราจรระหว่างท้องที่เขตจตุจักร เขตลาดพร้าว เขตบึงกุ่ม และเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร มีระยะทาง 11.656 กิโลเมตร เริ่มจากบริเวณถนนงามวงศ์วานตัดกับถนนพหลโยธินที่สี่แยกเกษตร เขตจตุจักร เป็นถนนขนาด 8 ช่องทางจราจร มุ่งไปทางทิศตะวันออกในพื้นที่แขวงเสนานิคม ข้ามคลองบางบัวเข้าสู่พื้นที่เขตลาดพร้าวในแขวงจรเข้บัว ตัดกับถนนลาดปลาเค้า จากนั้นมุ่งไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เข้าสู่แขวงลาดพร้าว ตัดกับถนนสุคนธสวัสดิ์และถนนประดิษฐ์มนูธรรม เข้าสู่พื้นที่แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม ข้ามคลองลำเจียก ตัดกับถนนรัชดา-รามอินทรา ซ้อนกับแนวปากทางถนนนวลจันทร์และข้ามคลองบางขวดก่อนตัดกับถนนนวมินทร์ เข้าพื้นที่แขวงคลองกุ่ม ตรงไปทางทิศเดิม วกขึ้นทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบวบขม ข้ามคลองลำปลาดุกเข้าสู่พื้นที่แขวงรามอินทรา เขตคันนายาว และข้ามคลองครุก่อนไปสิ้นสุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (ถนนคู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ซึ่งในอนาคตอาจมีการก่อสร้างเป็นทางแยกต่างระดับด้ว.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนประเสริฐมนูกิจ

ถนนนวมินทร์

นนนวมินทร์ (Thanon Nawamin) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อว่า ถนนสุขาภิบาล 1 มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สี่แยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนลาดพร้าว ถนนเสรีไทย และถนนพ่วงศิริ ในแขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ มีทิศทางมุ่งขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่านพื้นที่เขตบึงกุ่ม ไปสิ้นสุดที่แยกตัดกับถนนรามอินทรา (บริเวณกิโลเมตรที่ 8) ในเขตคันนายาว เดิมถนนนวมินทร์ได้รับการกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3202 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมากรมทางหลวงได้โอนให้สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ดูแลตลอดระยะทาง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนนวมินทร์

ถนนแจ้งวัฒนะ

นนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ (Thanon Chaeng Watthana) เป็นถนนสายหนึ่งในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เขตหลักสี่ และเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่นายชลอ แจ้งวัฒนะ อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางกรุงเทพที่ 2 กรมทางหลวง ซึ่งเป็นนายช่างที่ควบคุมการก่อสร้างถนนสายนี้ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนแจ้งวัฒนะ

ถนนเทพารักษ์

นนเทพารักษ์ (Thanon Thepharak) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3268 สายสำโรง - บางบ่อ เป็นถนนท้องถิ่นในจังหวัดสมุทรปราการ แยกจากถนนสุขุมวิทบริเวณกิโลเมตรที่ 20 ข้างสถานีตำรวจภูธรสำโรงเหนือ ตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ระยะทางประมาณ 28 กิโลเมตร ผ่านท้องที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ อำเภอบางพลี อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางบ่อ โดยไปบรรจบกับถนนรัตนราชและถนนปานวิถี (คลองด่าน-บางบ่อ) บริเวณโรงเรียนอนุบาลชุมชนบางบ่อ ตำบลบางบ่อ อำเภอบางบ่อ แต่เดิมถนนเส้นนี้มีเพียง 2 ช่องทางจราจรตลอดเส้นทาง ปัจจุบันได้ขยายช่องจราจรเป็น 6-8 ช่องจราจรเรียบร้อยแล้วตลอดทั้งเส้นทาง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและถนนเทพารักษ์

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 สายปากเกร็ด–สะพานต่างระดับนครราชสีมา เป็นทางหลวงแผ่นดินสายรองประธานที่เชื่อมระหว่างจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครราชสีมา มีจุดเริ่มต้นบนถนนติวานนท์ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306) ที่ห้าแยกปากเกร็ด ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และสิ้นสุดบนถนนมิตรภาพ กับทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมาด้านตะวันตก (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 204) ที่ทางแยกต่างระดับนครราชสีมา ในอำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ระยะทางทั้งสิ้น 298.515 กิโลเมตร อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง 296.707 กิโลเมตร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306 สายพระราม 7–บางพูน เป็นทางหลวงแผ่นดินที่ก่อสร้างเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาทางฝั่งตะวันออก โดยเริ่มต้นตั้งแต่ในเขตกรุงเทพมหานคร บริเวณหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เข้าเขตจังหวัดนนทบุรี ผ่านท้องที่อำเภอเมืองนนทบุรีและอำเภอปากเกร็ด เข้าสู่เขตจังหวัดปทุมธานี มีขนาด 6 ช่องจราจรตลอดเส้นทาง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306

ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

รถไฟฟ้าเมืองเนือร์นแบร์ก ประเทศเยอรมนี ภายในรถไฟฟ้าเมืองเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร (Siemens Modular Metro) เป็นตระกูลรถรางไฟฟ้าเพื่อระบบขนส่งด่วนพิเศษ ซึ่งผลิตโดย ซีเมนส์ทรานสพอร์เทชันซิสเทมส์ และผู้ประกอบการรถไฟใช้ทั่วโลก แนวคิดของยานพาหนะดังกล่าวเปิดตัวในกรุงเวียนนา เมื่อ..

ดู รถไฟฟ้ามหานครและซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทร

ประตูน้ำ

ประตูน้ำ อาจหมายถึง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและประตูน้ำ

แม่น้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายหลักสายหนึ่งของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและแม่น้ำเจ้าพระยา

แยกแคราย

แยกแคราย (Khae Rai Intersection) เป็นทางแยกจุดตัดระหว่างถนนติวานนท์ ถนนรัตนาธิเบศร์ และถนนงามวงศ์วาน ในท้องที่หมู่ที่ 9 ตำบลบางกระสอ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี การจราจรบริเวณทางแยกนี้จะติดขัดมากเป็นพิเศษในช่วงเวลาเร่งด่วน.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและแยกแคราย

แยกเกษตร

แยกเกษตร (Kaset Intersection) เป็นสี่แยกจุดตัดระหว่างถนนงามวงศ์วาน, ถนนพหลโยธิน และถนนประเสริฐมนูกิจ ในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร โดยในสมัยก่อนที่ยังไม่มีการตัดถนนประเสริฐมนูกิจ แยกนี้เป็นสามแยกไฟแดง พอตัดถนนประเสริฐมนูกิจแยกนี้จึงกลายเป็นสี่แยกโดยใช้สัญญาณไฟบังคับการจราจรทุกทิศทาง ซึ่งต่อมาได้มีการขุดทางลอดตามแนวถนนงามวงศ์วานไปถนนประเสริฐมนูกิจจึงได้ปรับการจราจรให้รถที่ต้องการไปแครายและถนนนวมินทร์ต้องลงทางลอดเท่านั้น เนื่องจากถนนในระดับดินบังคับให้เลี้ยวได้แต่ซ้ายและขวา ส่วนถนนพหลโยธินใช้สัญญาณไฟควบคุมทุกทิศทางตามปกต.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและแยกเกษตร

โรงพยาบาลศิริราช

รงพยาบาลศิริราช เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของ ประเทศไทย ตั้งอยู่เลขที่ 2 ถนนวังหลัง แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยา ตรงข้ามกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์) เคยเป็นที่ประทับรักษาพระประชวรของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ตลอดจนพระบรมวงศานุวงศ์หลายพระองค์ เช่น พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและโรงพยาบาลศิริราช

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

รงการระบบรถไฟชานเมืองสายสีแดง เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) พื้นที่โครงการส่วนใหญ่อยู่บนเขตทางของการรถไฟแห่งประเทศไทย ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) และกรุงเทพมหานคร ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีอยู่แล้ว และยังจะสร้างเพิ่มเติมอีกในอนาคต รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)

เขตบางกอกน้อย

ตบางกอกน้อย เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี โดยมีคำขวัญประจำเขตว่า "สมเด็จโตวัดระฆัง วังหลังตั้งอยู่ อู่เรือพระราชพิธี สถานีรถไฟ คลองใหญ่มีชื่อ เลื่องลือเครื่องลงหิน นามระบิลช่างหล่อ งามลออวัดวา".

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตบางกอกน้อย

เขตบางกอกใหญ่

ตบางกอกใหญ่ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนบุรี ซึ่งถือเป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตบางกอกใหญ่

เขตบางกะปิ

ตบางกะปิ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก ซึ่งถือเป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมือง ทางทิศตะวันออก (ตอนใต้).

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตบางกะปิ

เขตบางซื่อ

ตบางซื่อ เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตบางซื่อ

เขตบางแค

ตบางแค เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนใต้ ซึ่งถือเป็นเขตเกษตรกรรมผสมผสานแหล่งที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมดีทางฝั่งธนบุรี ปัจจุบันเขตบางแคเป็นเขตที่มีจำนวนประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ในกรุงเทพมหานครรองจากเขตคลองสามว.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตบางแค

เขตมีนบุรี

ตมีนบุรี เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก สภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม มีคลองและลำรางไหลผ่านหลายสาย ในอดีตเป็นเรือกสวนไร่นา บ่อปลา นาบัว และไร่หญ้า แต่ปัจจุบันเริ่มลดน้อยลง เนื่องจากพื้นที่หลายแห่งถูกเปลี่ยนสภาพเป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่น หมู่บ้าน อาคารพาณิชย์ สถานที่ประกอบการทั้งเล็กและขนาดใหญ.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตมีนบุรี

เขตห้วยขวาง

ตห้วยขวาง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง ถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตห้วยขวาง

เขตจตุจักร

ตจตุจักร เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร จัดอยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ ซึ่งถือเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตจตุจักร

เขตดินแดง

ตดินแดง เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพกลาง สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตดินแดง

เขตปทุมวัน

ตปทุมวัน เป็น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุงเทพมหานคร อยู่ในกลุ่มเขตกรุงเทพใต้ ซึ่งถือเป็นเขตศูนย์กลางธุรกิจ การค้า การบริการ การพยาบาล วัฒนธรรม การศึกษา และการทูต เป็นเขตหนึ่งที่มีที่ตั้งอยู่บริเวณใจกลางที่สุดของกรุงเทพมหานครและที่มีการคมนาคมหลากหลายช่องทาง.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและเขตปทุมวัน

3 กรกฎาคม

วันที่ 3 กรกฎาคม เป็นวันที่ 184 ของปี (วันที่ 185 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 181 วันในปีนั้น.

ดู รถไฟฟ้ามหานครและ3 กรกฎาคม

หรือที่รู้จักกันในชื่อ MRT (Bangkok)รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี และสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรงสถานีหัวหมาก (รถไฟฟ้ามหานคร)โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี และสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง

ถนนศรีนครินทร์ถนนงามวงศ์วานถนนประเสริฐมนูกิจถนนนวมินทร์ถนนแจ้งวัฒนะถนนเทพารักษ์ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 306ซีเมนส์ โมดูลาร์ เมโทรประตูน้ำแม่น้ำเจ้าพระยาแยกแครายแยกเกษตรโรงพยาบาลศิริราชโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง)เขตบางกอกน้อยเขตบางกอกใหญ่เขตบางกะปิเขตบางซื่อเขตบางแคเขตมีนบุรีเขตห้วยขวางเขตจตุจักรเขตดินแดงเขตปทุมวัน3 กรกฎาคม