โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยูโดและไอกิโด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยูโดและไอกิโด

ยูโด vs. ไอกิโด

ปรมาจารย์ คะโน จิโงะโร ท่าทุ่มในยูโด ยูโด เป็นศิลปะการป้องกันตัวประเภทหนึ่งที่ถือกำเนิดจากประเทศญี่ปุ่น โดยคะโน จิโงะโร ยูโดมีชื่อเต็มว่า โคโดกัง ยูโด เดิมเรียกว่า ยูยิสสู ซึ่งเป็นวิชาที่สามารถต่อสู้กับคู่ต่อสู้ที่มีอาวุธด้วยมือเปล. อกิโด เป็นศิลปะการต่อสู้ญี่ปุ่นสมัยใหม่พัฒนาโดยโมะริเฮอิ อุเอะชิบะ เป็นการรวมศิลปะการต่อสู้ ปรัชญา และความเชื่อทางศาสนาไว้ด้วยกัน ไอกิโดมักแปลว่า "หนทางแห่งการรวมพลังงานชีวิต" หรือ "หนทางแห่งจิตวิญญาณที่ประสานกัน" เป้าหมายของอุเอะชิบะคือสร้างศิลปะที่ผู้ฝึกฝนใช้ป้องกันตัวและป้องกันไม่ให้คู่ต่อสู้บาดเจ็บด้วย ทักษะไอกิโดประกอบด้วยการเคลื่อนไหวที่เปลี่ยนทิศทางโมเมนตัมของท่าโจมตีของคู่ต่อสู้ และการทุ่มหรือล็อกข้อต่อที่ยุติทักษะดังกล่าว ไอกิโดแผลงมาจากศิลปะการต่อสู้ชื่อ ไดโตรีว ไอกิจูจุสึ แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในปลายคริสต์ทศวรรษ 1920 ส่วนหนึ่งมาจากที่อุเอะชิบะเข้าไปพัวพันกับศาสนานิกายโอโมะโตะ ในเอกสารของลูกศิษย์ยุคแรกของอุเอะชิบะยังคงใช้คำว่า "ไอกิจูจุสึ" ลูกศิษย์อาวุโสของอุเอะชิบะมีวิธีการฝึกไอกิโดที่แตกต่างกันขึ้นกับช่วงเวลาที่พวกเขาศึกษากับอาจารย์ ปัจจุบันพบไอกิโดทั่วโลกในหลายรูปแบบ โดยมีพิสัยการตีความและการเน้นฝึกฝนที่กว้าง อย่างไรก็ตามพวกเขาต่างแบ่งปันทักษะที่อุเอะชิบะ และเป็นการต่อสู้ที่คำนึงถึงความปลอดภัยของคู่ต่อสู้มากที.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยูโดและไอกิโด

ยูโดและไอกิโด มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยิวยิตสู

ยิวยิตสู

กีฬายูยิตสู ยิวยิตสู หรือในภาษาญี่ปุ่นว่า จูจุสึ หรือภาษาอังกฤษว่า จูจัตซู (jujutsu).

ยิวยิตสูและยูโด · ยิวยิตสูและไอกิโด · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยูโดและไอกิโด

ยูโด มี 8 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไอกิโด มี 15 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.35% = 1 / (8 + 15)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยูโดและไอกิโด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »