โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ vs. สงคราม ค.ศ. 1812

ทธนาวีที่ตราฟัลการ์ (Battle of Trafalgar, 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805) เป็นการกระทำยุทธนาวีระหว่าง ราชนาวีอังกฤษกับกองเรือผสมของกองทัพเรือฝรั่งเศสร่วมกับกองทัพเรือสเปน ในช่วงสงครามประสานมิตรครั้งที่สาม (สิงหาคม-ธันวาคม 1805) ใน สงครามนโปเลียน (1803–1815) กองเรือราชนาวีอังกฤษที่มีเรือรบแนวเส้นประจัญบาน 27 ลำภายใต้บัญชาการของพลเรือโทลอร์ดเนลสัน สามารถมีชนะเหนือกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปน 33 ลำ ภายใต้บัญชาการของ พลเรือโท ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์ แห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของสเปน ทางตะวันตกของแหลมตราฟัลการ์ ซึ่งกองเรือฝรั่งเศสสูญเสียเรือรบไปถึง 22 ลำโดยที่ไม่สามารรถจมเรือรบอังกฤษแม้แต่ลำเดียว ชัยชนะที่งดงามของอังกฤษครั้งนี้เป็นการยืนยันฐานะของราชนาวีอังกฤษที่ได้สั่งสมมาตลอดศตวรรษที่ 18 ในฐานะกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที. งคราม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812 มี 5 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ราชนาวีสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์สงครามนโปเลียนเรือรบแนวเส้นประจัญบานเสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่

ราชนาวี

กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก.

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และราชนาวี · ราชนาวีและสงคราม ค.ศ. 1812 · ดูเพิ่มเติม »

สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

หราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ (United Kingdom of Great Britain and Ireland.) เป็นชื่ออย่างเป็นทางการของสหราชอาณาจักร ในช่วงตั้งแต่ 1 มกราคม พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1801)1 มกราคม..

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · สงคราม ค.ศ. 1812และสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ · ดูเพิ่มเติม »

สงครามนโปเลียน

งครามนโปเลียน (Napoleonic Wars, Guerres napoléoniennes) เป็นสงครามต่อเนื่องที่เกี่ยวข้องกับจักรวรรดิฝรั่งเศสของนโปเลียน และพันธมิตรต่าง ๆ ของยุโรป และฝ่ายพันมิตรต่อต้านที่เริ่มขึ้นราว..

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงครามนโปเลียน · สงคราม ค.ศ. 1812และสงครามนโปเลียน · ดูเพิ่มเติม »

เรือรบแนวเส้นประจัญบาน

รือรบแนวเส้นประจัญบาน หรือ เรือแนวเส้นประจัญบาน (ship of the line; le bâtiment de ligne) เป็นเรือรบประเภทหนึ่งที่นิยมต่อขึ้นใช้ ระหว่างศตวรรษที่ 17 จนถึงกลางศตวรรษที่ 19 เพื่อใช้ในยุทธวิธีทางน้ำที่เรียกกันว่า แนวเส้นประจัญบาน (line of battle) โดยกองเรือของแต่ละฝ่ายที่เป็นปฏิปักษ์กัน จะแปรขบวนเรือให้เป็นแถวยาว เพื่อใช้อานุภาพการยิงวอลเลย์จากทางกราบเรืออย่างพร้อมเพรียงกันให้เกิดผลสูงสุด ซึ่งต่างไปจากการประจัญบานทางน้ำในยุคก่อนๆ ซึ่งจะใช้ยุทธวิธีโจมตีโดยนำเรือเข้าประชิดเรือข้าศึก หรือไม่ก็ใช้เรือพุ่งเข้ากระแทก (ramming) เนื่องจากผลแพ้ชนะในยุทธวิธีนี้มักจะขึ้นอยู่กับว่าใครมีเรือระวางขับน้ำมากกว่า และบรรทุกปืนใหญ่อานุภาพสูงได้มากกว่า ความเป็นมหาอำนาจทางทะเลในสมัยนั้นจึงวัดกันว่าใครมีเรือแนวเส้นประจัญบานมากลำกว่า และใหญ่กว่า แบบดีไซน์ของเรือแนวเส้นประจัญบาน ค่อยๆพัฒนาขึ้นตลอดศตวรรษที่ 17 โดยมีลักษณะสำคัญอยู่ที่ การใช้เสากระโดงเรือ 3 เสา และมีท้ายเรือที่ลดต่ำลง โครงสร้างยกระดับที่ท้ายเรือ (อย่างเรือในยุคบุกเบิกการเดินทะเล) หายไป ความยาวมาตรฐานของเรือประเภทนี้อยู่ที่ประมาณ 200 ฟุต มีระวางขับน้ำระหว่าง 1,200 ถึง 2,000 ตัน ใช้ลูกเรือประมาณ 600 ถึง 800 คน อาวุธประจำเรือถูกเรียงเป็นสามชั้น ปืนใหญ่ของหน่วยยิง (battery) แถวล่างมีอำนาจการยิงมากที่สุด โดยอาจมีปืนใหญ่ที่ยิงลูกปืนใหญ่ขนาด 32-48 ปอนด์ ถึงสามสิบกระบอก; หน่วยยิงแถวกลางมีปืนจำนวนเท่ากันแต่ยิงกระสุนขนาดเล็กกว่า (ประมาณ 24 ปอนด์); แถวบนสุดมีปืนยิงกระสุนขนาด 12 ปอนด์ 30 กระบอก หรือมากกว่านั้น ราชนาวีอังกฤษจัดเรือแนวเส้นประจัญบานออกเป็น 3 ระดับตามจำนวนปืนที่สามาถบรรทุกได้ เรือ "ชั้นเอก" (first-rate) กับชั้นโท จะมีแถวยิงสามแถวเหมือนกัน แต่เรือชั้นเอกจะมีปืนมากกระบอกกว่า คือ ประมาณ 100 ถึง 110 กระบอก ส่วนเรือชั้นตรีจะมีแถวยิงเพียงสองแถว ทำให้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า เรือปืนสองแถว (Two-deckers) เรือธงชั้นเอกของกองเรือ อย่างเช่น เรือหลวง''วิกตอรี'' (HMS Victory) เรือธงของราชนาวีที่ได้รับชัยชนะในยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ มีปืนประมาณหนึ่งร้อยกระบอก และอาจใช้ลูกเรือมากถึง 850 นาย นับแต่เครื่องจักรไอน้ำ เข้ามามีบทบาทในการเดินเรือ ยุทธนาวีทางน้ำก็พึ่งพาแรงลมและใบเรือน้อยลง หันมาใช้การขับเคลื่อนด้วยกังหันหรือใบพัดแทน แต่จุดเปลี่ยนสำคัญของเทคโนโลยีคือการเกิดขึ้นของ เรือรบหุ้มเกราะ ไอรอนแคลด ในราวปี 1859 และมีบทบาทสำคัญในการยุทธนาวีในสงครามกลางเมืองอเมริกา และในสงครามโบะชิงของญี่ปุ่น หลังจากนั้นมาเรือแนวเส้นประจัญบานก็เสื่อมความนิยมลงอย่างรวดเร็ว เรือรบหุ้มเกราะวิวัฒนาการต่อจนกลายเป็น เรือประจัญบาน ในศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นชื่อเรียกเรือรบขนาดใหญ่ที่ลดรูปมาจากคำว่า เรือแนวเส้นประจัญบานนั่นเอง.

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และเรือรบแนวเส้นประจัญบาน · สงคราม ค.ศ. 1812และเรือรบแนวเส้นประจัญบาน · ดูเพิ่มเติม »

เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่

หลุมฝังศพทหารปืนกลอเมริกันระหว่างยุทธการแห่งนอร์มังดี สุสานหาดโอมาฮาในแคว้นนอร์มังดี ของฝรั่งเศส เสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ (Killed in action หรือ KIA หรือ K. I. A) เป็นการจัดระดับของความสูญเสียระหว่างการรบ หมายความว่า เป็นการตายที่เกิดขึ้นจากน้ำมือของฝ่ายศัตรู หรือโดย "การยิงพวกเดียวกัน (Friendly fire)" ระหว่างการรบ แต่การตายในการรบไม่จำเป็นต้องเกิดจากการเสียชีวิตด้วยอาวุธ เพียงแต่เป็นการกระทำของฝ่ายศัตรู การตายในการรบไม่รวมถึงสาเหตุอย่างเช่น อุบัติเหตุการขับรถ หรือการก่อการร้าย เป็นต้น การตายในการรบสามารถใช้ได้กับทั้งทหารบกในแนวหน้า ทหารเรือ ทหารอากาศ รวมไปถึงทหารกองหนุนด้วย นอกจากนั้น การจัดระดับดังกล่าวยังหมายถึง การตายซึ่งเกิดจากความพิการ (DOW) ด้วย อันหมายถึงผู้ที่รอดชีวิตไปจนถึงสถานรักษาพยาบาล แต่ว่านักประวัติศาสตร์และนักการทหารใช้คำย่อแตกต่างกัน.

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และเสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ · สงคราม ค.ศ. 1812และเสียชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ มี 18 ความสัมพันธ์ขณะที่ สงคราม ค.ศ. 1812 มี 20 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 5, ดัชนี Jaccard คือ 13.16% = 5 / (18 + 20)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์และสงคราม ค.ศ. 1812 หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »