โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะ

ดัชนี ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะ

ทธนาวีช่องแคบสึชิมะ (Цусимское сражение, Tsusimskoye srazheniye), หรือที่รู้จักกันในชื่อ ยุทธนาวีทะเลญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: 日本海海戦, นิฮงไก-ไกเซ็ง) เป็นการรบทางทะเลครั้งสุดท้ายระหว่างกองเรือของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่นในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น โดยที่กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นสามารถมีชัยชนะอย่างขาดลอยเหนือกองเรือรัสเซีย นับว่าเป็นยุทธนาวีหนึ่งในประวัติศาสตร์ที่สร้างความอับยศแก่กองทัพเรือจักรวรรดิรัสเซียอย่างยิ่ง และยังเป็นยุทธนาวีที่มีการนำระบบวิทยุโทรเลขมาใช้ในการรบทางทะเลเป็นครั้งแรก.

18 ความสัมพันธ์: ช่องแคบเกาหลีกฎหมายสงครามกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นมอสโกยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ยูทูบวลาดีวอสตอคสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นหมู่ปืนเรือจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซียจักรวรรดิญี่ปุ่นจักรวรรดิรัสเซียธงประมวลสากลทวีปยุโรปโทรเลขโทโง เฮฮะชิโรโตเกียวเรือธง

ช่องแคบเกาหลี

ไม่มีคำอธิบาย.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและช่องแคบเกาหลี · ดูเพิ่มเติม »

กฎหมายสงคราม

กฎหมายสงคราม เป็นภาษาเฉพาะวงการกฎหมายซึ่งหมายถึงกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองส่วนที่ว่าด้วยการให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมายที่ยอมรับได้ที่จะเข้าสู่สงคราม (jus ad bellum) และจำกัดความประพฤติยามสงครามที่ยอมรับได้ (jus in bello หรือกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ) กฎหมายสงครามสมัยใหม่กล่าวถึงการประกาศสงคราม การยอมรับการยอมจำนน การปฏิบัติต่อเชลยศึก ความจำเป็นทางทหาร การแยกแยะพลรบกับพลเรือน (distinction) และความได้สัดส่วน (proportionality) และการห้ามอาวุธบางอย่างซึ่งอาจก่อความทุกข์ทรมานที่ไม่จำเป็นThe Program for Humanitarian Policy and Conflict Research at Harvard University, "IHL PRIMER SERIES | Issue #1" Accessed at http://www3.nd.edu/~cpence/eewt/IHLRI2009.pdf เป็นต้น กฎหมายสงครามถูกพิจารณาแยกกับประชุมกฎหมายอื่น เช่น กฎหมายในประเทศของคู่สงครามหนึ่ง ๆ ซึ่งอาจให้ข้อจำกัดทางกฎหมายต่อความประพฤติหรือการให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมายของสงครามเพิ่มเติม.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและกฎหมายสงคราม · ดูเพิ่มเติม »

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น

กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น (IJN) (คีวจิไต: 大日本帝國海軍 ชินจิไต: 大日本帝国海軍 หรือ 日本海軍 นิปปง ไคงุง) เป็นกองทัพเรือแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่นตั้งแต่ปี..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

มอสโก

มอสโก (Moscow; Москва́, มะสฺกฺวา) เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย ในปี..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและมอสโก · ดูเพิ่มเติม »

ยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์

ทธนาวีที่ตราฟัลการ์ (Battle of Trafalgar, 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805) เป็นการกระทำยุทธนาวีระหว่าง ราชนาวีอังกฤษกับกองเรือผสมของกองทัพเรือฝรั่งเศสร่วมกับกองทัพเรือสเปน ในช่วงสงครามประสานมิตรครั้งที่สาม (สิงหาคม-ธันวาคม 1805) ใน สงครามนโปเลียน (1803–1815) กองเรือราชนาวีอังกฤษที่มีเรือรบแนวเส้นประจัญบาน 27 ลำภายใต้บัญชาการของพลเรือโทลอร์ดเนลสัน สามารถมีชนะเหนือกองเรือผสมฝรั่งเศส-สเปน 33 ลำ ภายใต้บัญชาการของ พลเรือโท ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์ แห่งกองทัพเรือฝรั่งเศส ที่ชายฝั่งทางตะวันตกเฉียงใต้ของสเปน ทางตะวันตกของแหลมตราฟัลการ์ ซึ่งกองเรือฝรั่งเศสสูญเสียเรือรบไปถึง 22 ลำโดยที่ไม่สามารรถจมเรือรบอังกฤษแม้แต่ลำเดียว ชัยชนะที่งดงามของอังกฤษครั้งนี้เป็นการยืนยันฐานะของราชนาวีอังกฤษที่ได้สั่งสมมาตลอดศตวรรษที่ 18 ในฐานะกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ · ดูเพิ่มเติม »

ยูทูบ

ูทูบ ตามสำเนียงอเมริกัน หรือ ยูทิวบ์ ตามสำเนียงบริเตน (YouTube) เป็นเว็บไซต์เผยแพร่วิดีโอโดยมีสำนักงานอยู่ที่แซนบรูโน แคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เว็ปไซต์ดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาจากอดีตพนักงาน 3 คนในบริษัทเพย์แพล อันประกอบด้วยแชด เฮอร์ลีย์ สตีฟ เชน และยาวีด คาริม ในเดือนกุมภาพันธ์ 2548 ในเดือนพฤศจิกายน 2549 ยูทูบถูกกูเกิลซื้อไปในราคา 1.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ ยูทูบเป็นหนึ่งในบริษัทย่อยของกูเกิล เว็บไซต์ยังสามารถให้ผู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรือแบ่งปันวิดีโอได้.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและยูทูบ · ดูเพิ่มเติม »

วลาดีวอสตอค

วลาดีวอสตอค (p, แปลว่า ผู้ปกครองแห่งตะวันออก) เป็นเมืองขนาดใหญ่ทางด้านทิศตะวันออกของประเทศรัสเซีย ริมอ่าวโกลเดนฮอร์น ไม่ไกลจากพรมแดนจีนและเกาหลีเหนือ ประชากรในปี..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและวลาดีวอสตอค · ดูเพิ่มเติม »

สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น

งครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น (Russo-Japanese War) เป็น สงครามครั้งใหญ่ครั้งแรกในศตวรรษที่ 20 อันเนื่องมาจากลัทธิจักรวรรดินิยมของจักรวรรดิรัสเซียและจักรวรรดิญี่ปุ่น ในบริเวณทางใต้ของแมนจูเรียในพื้นที่คาบสมุทรเหลียวตง, เสิ่นหยาง และบริเวณเกาหลีในพื้นที่คาบสมุทรเกาหลี, ทะเลเหลือง รัสเซียได้ร้องขอท่าเรือน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกไว้ เพื่อใช้งานด้านกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของรัสเซีย เนื่องจากนครวลาดิวอสต็อกของรัสเซียสามารถเปิดดำเนินการได้อย่างเต็มที่เฉพาะในฤดูร้อนเท่านั้น แต่เมืองพอร์ตอาเธอร์ (ลวี่ชุนเกาในปัจจุบัน) สามารถเปิดดำเนินการได้ตลอดทั้งปี ซึ่งตั้งแต่สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 1 ยุติลง ในปี..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

หมู่ปืนเรือ

แสดงถึงหมู่ปืนหลัก (สีแดง) และหมู่ปืนรอง (สีฟ้า) ของเรือประจัญบาน ยูเอสเอส วอชิงตัน หมู่ปืนเรือ กองทัพเรือ (battery) เป็นคำที่ใช้เรียกปืนใหญ่หรือปืนบนเรือรบ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ หมู่ปืนหลัก (main battery) และหมู่ปืนรอง (secondary battery) โดยทั่วไปหมู่ปืนหลักจะใช้ในการยิงโจมตีและหมู่ปืนรองจะใช้ในการป้องกันตนเอง เช่น เรือประจัญบานบิสมาร์คมีปืนใหญ่ 380 มม.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและหมู่ปืนเรือ · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย

ระราชพิธีบรมราชาภิเษกของจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 (1896) จักรพรรดินีโคไลที่ 2 (Николай II, Николай Александрович Романов, tr.) หรือ นิโคลัสที่ 2 (Nicholas II; 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2411 - 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2461) เป็นจักรพรรดิแห่งรัสเซีย, แกรนด์ดยุคฟินแลนด์และกษัตริย์แห่งโปแลนด์โดยสิทธิ์พระองค์สุดท้าย เช่นเดียวกับจักรพรรดิรัสเซียองค์อื่นๆ พระองค์เป็นที่รู้จักด้วยพระอิสริยยศ ซาร์ บรรดาศักดิ์โดยย่ออย่างเป็นทางการของพระองค์ คือ นิโคลัสที่ 2 จักรพรรดิและอัตตาธิปัตย์แห่งปวงรัสเซีย ศาสนจักรออโธด็อกซ์รัสเซียออกพระนามพระองค์ว่า นักบุญนิโคลัสผู้แบกมหาทรมาน (Passion-Bearer) และถูกเรียกว่า นักบุญนิโคลัสมรณสักขี จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 ทรงปกครองตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิญี่ปุ่น

ักรวรรดิญี่ปุ่น หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ มหาจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นจักรวรรดิที่อยู่ทางตะวันออกที่สุดและเป็นหนึ่งในมหาอำนาจของโลก ในคริสต์ศตวรรษที่ 19-20 สถาปนาขึ้นภายหลังจากการปฏิรูปเมจิ เมื่อวันที่ 3 มกราคม..

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและจักรวรรดิญี่ปุ่น · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิรัสเซีย

ักรวรรดิรัสเซีย (Российская империя; Russian Empire) คืออดีตประเทศรัสเซียก่อนที่จะมีการปฏิวัติการปกครองของซาร์นิโคลัสที่ 2 เป็นสหภาพสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตในปี 1917 จักรวรรดิรัสเซียสถาปนาขึ้นในปี 1721 โดยจักรพรรดิซาร์ปีเตอร์มหาราชสถาปนาขึ้นแทนที่อาณาจักรซาร์แห่งรัสเซีย จักรวรรดิรัสเซียมีพื้นที่กว้างใหญ่ครอบคลุมยุโรปตะวันออก, เอเชีย จนไปถึงทวีปอเมริกา นับได้ว่าเป็นหนึ่งในจักรวรรดิที่ใหญ่ที่สุดในโลกและเป็นจักรวรรดิหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองที่สุดในประวัติศาสตร์รัสเซี.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและจักรวรรดิรัสเซีย · ดูเพิ่มเติม »

ธงประมวลสากล

งประมวลบนสะพานเดินเรือของเรือสินค้า ''SS Jeremiah O'Brien'' ระบบธงประมวลสากล (International maritime signal flags) เป็นวิธีการแทนตัวอักษรแต่ละตัวอักษรในสัญญาณไปสู่เรือหรือจากเรือ เป็นส่วนหนึ่งของประมวลสากล (INTERCO) ราวแขวนธงสัญญาณบนเรือรบ ''USS North Carolina (BB-55) '' มีวิธีการต่างๆที่ธงสามารถใช้เป็นสัญญาณคือ.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและธงประมวลสากล · ดูเพิ่มเติม »

ทวีปยุโรป

ทวีปยุโรป (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") มีฐานะเป็นทวีปทั้งในแง่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ในทางภูมิศาสตร์ ยุโรปเป็นอนุทวีปที่อยู่ทางด้านตะวันตกของมหาทวีปยูเรเชีย ยุโรปมีพรมแดนทางเหนือติดกับมหาสมุทรอาร์กติก ทางตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก ทางใต้ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและทะเลดำ ด้านตะวันออกติดกับเทือกเขายูรัลและทะเลแคสเปียน "Europe" (pp. 68-9); "Asia" (pp. 90-1): "A commonly accepted division between Asia and Europe...

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและทวีปยุโรป · ดูเพิ่มเติม »

โทรเลข

การส่งโทรเลขสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โทรเลข อดีตเรียก ตะแล็บแก๊บ (Telegraph) คือระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าส่งข้อความจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เดิมส่งโดยอาศัยสายตัวนำที่โยงติดต่อถึงกันและอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ แต่ระยะหลังมีการใช้วิธีการส่งไร้สาย ที่เรียกว่า วิทยุโทรเลข (radio telegraph, wireless telegraph หรือ continuous wave ย่อว่า CW).

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและโทรเลข · ดูเพิ่มเติม »

โทโง เฮฮะชิโร

อมพลเรือ มาร์ควิส โทโง เฮฮะชิโร เป็นหนึ่งในจอมพลเรือแห่งกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น และถือเป็นหนึ่งในวีรบุรุษที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของกองทัพเรือญี่ปุ่น จนได้รับฉายาว่า "เนลสันแห่งบูรพา".

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและโทโง เฮฮะชิโร · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

เรือธง

รือวิคตอรีเป็นหนึ่งในเรือธงของราชนาวีอังกฤษ เรือธง (Flagship) เป็นเรือที่มีผู้บัญชาการกองเรือ ใช้เป็นที่บังคับบัญชากองเรือ ชักธงตามยศของผู้บัญชาการนั้นไว้บนยอดเสาสูงสุดเพื่อให้เรือลำอื่นในกองเดียวกันสังเกตเห็นได้ชัดเจน ซึ่งจะเป็นเรือที่ส่งอาณัติสัญญาณให้เข้าโจมตี กองทัพเรือไทยมีเรือธงได้แก่ เรือหลวงจักรีนฤเบศร เรือหลวงแม่กลอง แม่คำของ "เรือธง" คือ เรือ ในปัจจุบันคำว่า "เรือธง" ไม่เพียงแต่หมายถึงเรือเท่านั้น แต่ถูกยืมมาใช้กับอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น วงการค้าปลีก เพื่อสื่อความถึงผลิตภัณฑ์ที่แพงที่สุด หรือที่ดีที่สุดของบริษัทนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม การใช้คำดังกล่าวในภาษาไทยเป็นการแปลแบบตรงตัวมาจากคำ "Flagship" ในภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นสำนวนภาษาต่างประเทศที่ไม่มีในภาษาไทยมาตรฐาน การใช้คำในความหมายดังกล่าวจึงอาจทำให้เกิดความสับสนได้โดยง่ายและกลายเป็นอุปสรรคในการสื่อสาร.

ใหม่!!: ยุทธนาวีช่องแคบสึชิมะและเรือธง · ดูเพิ่มเติม »

ขาออกขาเข้า
Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »