โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ยุทธการที่โมเฮ็คส์ vs. สุลัยมานผู้เกรียงไกร

ทธการที่โมเฮ็คส์ (mohácsi csata or mohácsi vész, Mohaç savaşı or Mohaç meydan savaşı, Battle of Mohács) เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นที่โมเฮ็คส์ทางใต้ของบูดาเปสต์ในฮังการีปัจจุบันเมื่อวันที่29 สิงหาคม ค.ศ. 1526 ระหว่างจักรวรรดิออตโตมันที่นำโดยสุลต่านสุลัยมานฝ่ายหนึ่ง และราชอาณาจักรฮังการีที่นำโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี, โครเอเชีย, ราชอาณาจักรโบฮีเมีย, จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์, อาณาจักรพระสันตะปาปา และ ราชอาณาจักรโปแลนด์อีกฝ่ายหนึ่ง ผลของสงครามฝ่ายออตโตมันได้รับชัยชนะอย่างเด็ดขาดและเป็นการนำมาซึ่งความสิ้นสุดของสงครามออตโตมัน-ฮังการี แต่เป็นการเริ่มสงครามออตโตมัน-ฮับส์บูร์ก ชัยชนะครั้งนี้ทำให้ฮังการีถูกแบ่งแยกระหว่างจักรวรรดิออตโตมัน, ราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรีย และราชรัฐทรานสซิลเวเนีย อยู่หลายสิบปี การเสด็จสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีขณะที่กำลังพยายามหลบหนีจากสนามรบเป็นการสิ้นสุดของราชวงศ์ Jagiellon dynasty ที่สิทธิในราชบัลลังก์ถูกผนวกเข้ากับราชวงศ์ฮับส์บวร์กโดยการเสกสมรสของพระขนิษฐาของพระเจ้าหลุยส์ที่ 2. ลต่านสุลัยมานที่ 1 (ตุรกีออตโตมัน: سلطان سليمان اول‎) พระองค์เป็นที่รู้จักในโลกตะวันตกว่า สุลัยมานผู้เกรียงไกร และเป็นที่รู้จักในโลกตะวันออกว่า สุลัยมานผู้ตรากฎหมาย ทรงเป็นประมุขของจักรวรรดิออตโตมันสมัยราชวงศ์ออสมันระหว่างปี ค.ศ. 1520 จนเสด็จสวรรคตเมื่อต้นเดือนกันยายนปี ค.ศ. 1566 เป็นสุลต่านพระองค์ที่ 10 และเป็นสุลต่านที่ทรงราชย์นานที่สุดของจักรวรรดิออตโตมัน เป็นเวลานานถึง 46 ปี สุลต่านสุลัยมานเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1494 ที่ทราบซอนในประเทศตุรกี เป็นพระราชโอรสในสุลต่านเซลิมที่ 1 และฮาฟซา ฮาทุน (Hafsa Hatun) ทรงเสกสมรสตามกฎหมายกับร็อกเซลานา หรือเฮอร์เรมสุลต่าน พระองค์เสด็จสวรรคตเมื่อราววันที่ 5/6 กันยายน ค.ศ. 1566 ที่ Szigetvár ในประเทศฮังการีปัจจุบัน หลังจากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชโอรสของพระองค์กับเฮอร์เรมสุลต่านก็ขึ้นครองราชย์เป็นสุลต่านเซลิมที่ 2 สุลต่านสุลัยมานเป็นพระมหากษัตริย์องค์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 16 ผู้มีบทบาทสำคัญไม่เพียงแต่ในจักรวรรดิออตโตมันเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงททวีปยุโรปด้วย พระองค์มีพระบรมราชานุภาพอันยิ่งใหญ่ทางการทหารและทางเศรษฐกิจ ทรงเป็นผู้นำทัพด้วยพระองค์เองในการสงครามหลายครั้งและทรงได้รับชัยชนะในสงครามหลายครั้งที่รวมทั้งต่อเบลเกรด โรดส์ และ ฮังการีเกือบทั้งหมด แต่มาทางพ่ายแพ้ในการล้อมกรุงเวียนนาในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร มี 10 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): พ.ศ. 2069พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการีพระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีราชวงศ์ฮาพส์บวร์คราชอาณาจักรฮังการีจักรวรรดิออตโตมันจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ประเทศออสเตรียประเทศฮังการี29 สิงหาคม

พ.ศ. 2069

ทธศักราช 2069 ใกล้เคียงกั.

พ.ศ. 2069และยุทธการที่โมเฮ็คส์ · พ.ศ. 2069และสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการี

มเด็จพระเจ้ายาโนส ซาโพลไยแห่งฮังการี (János Szapolyai) (2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1487 – 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1540) ยาโนสเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1526 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1540 แต่การครองราชย์ของพระองค์ถูกประท้วงโดยจักรพรรดิเฟอร์ดินานด์ที่ 1 ผู้ก็ทรงอ้างว่าเป็นกษัตริย์ฮังการีในช่วงเวลาเดียวกัน ก่อนหน้าที่จะขึ้นครองราชย์เป็นแม่ทัพแห่งทรานสซิลเวเนี.

พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการีและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · พระเจ้ายาโนชที่ 1 แห่งฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี

ระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการี (Louis II of Hungary; 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1506 – 29 สิงหาคม ค.ศ. 1526) เป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรฮังการีผู้ครองราชย์ระหว่าง ค.ศ. 1516 จนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1526Louis II.

พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · พระเจ้าหลุยส์ที่ 2 แห่งฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค

ราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค (Haus de Habsburg) (House of Habsburg, บางครั้งเขียนว่า Hapsburg) เป็นราชวงศ์ที่สำคัญที่สุดราชวงศ์หนึ่งในทวีปยุโรป ราชวงศ์นี้ได้ปกครองประเทศสเปนและประเทศออสเตรีย รวมเวลาทั้งหมดถึง 6 ศตวรรษ แต่ที่รู้จักกันดีมากที่สุดคือ การปกครองในตำแหน่งของ จักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ หลังจากได้มีการสถาปนาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมา พระราชวงศ์นี้ได้ปกครองรัฐและประเทศต่าง ๆ ถึง 1,800 รั.

ยุทธการที่โมเฮ็คส์และราชวงศ์ฮาพส์บวร์ค · ราชวงศ์ฮาพส์บวร์คและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ราชอาณาจักรฮังการี

ราชอาณาจักรฮังการี หรือเรียกสั้นๆ ว่า ฮังการี (Kingdom of Hungary, Magyar Királyság) มีชื่อเต็มว่า “ราชอาณาจักรแห่งพระมหามงกุฎอันศักดิ์สิทธิ์แห่งเซนต์สตีเฟน” (A magyar Szent Korona országai) เริ่มก่อตั้งราชอาณาจักรขึ้นราว..

ยุทธการที่โมเฮ็คส์และราชอาณาจักรฮังการี · ราชอาณาจักรฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

จักรวรรดิออตโตมันและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · จักรวรรดิออตโตมันและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์

ักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ (ละติน: Sacrum Imperium Romanum, Heiliges Römisches Reich) เป็นอภิมหาอำนาจในอดีต เป็นจักรวรรดิซึ่งประกอบด้วยดินแดนหลากเชื้อชาติในยุโรปกลาง ก่อกำเนิดขึ้นในสมัยกลางตอนต้นและล่มสลายลงในปี..

จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และยุทธการที่โมเฮ็คส์ · จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศออสเตรีย

ออสเตรีย (Austria; Österreich เออสฺตะไรฌ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย (Republic of Austria; Republik Österreich) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและเช็กเกีย ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตกจรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้หลักการของรั.

ประเทศออสเตรียและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · ประเทศออสเตรียและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

ประเทศฮังการี

ังการี (Hungary, Magyarország มอยอโรรฺซาก) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปกลางที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล มีอาณาเขตทิศเหนือจรดประเทศสโลวาเกีย ทิศตะวันออกจรดประเทศโรมาเนียและประเทศยูเครน ทิศใต้จรดประเทศเซอร์เบียและประเทศโครเอเชีย ทิศตะวันตกเฉียงใต้จรดประเทศสโลวีเนียและทิศตะวันตกจรดประเทศออสเตรีย เมืองที่ใหญ่ที่สุดและเป็นเมืองหลวงของประเทศคือเมืองบูดาเปสต์ ชื่อประเทศฮังการีในภาษาฮังการี แปลว่า "ประเทศของชาวม็อดยอร์" (Country of the Magyars) ประเทศฮังการีมีพื้นที่ 93,030 ตารางกิโลเมตร ซึ่งมีอาณาเขตเพียงร้อยละ 28 ของพื้นที่ราชอาณาจักรฮังการีเดิมก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยพื้นที่ปัจจุบันนับเป็นอันดับที่ 110 ของโลก โดยมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบในที่ราบพันโนเนีย และมีประชากร 9,919,128 คน นับเป็นอันดับที่ 90 ของโลก ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวม็อดยอร์ ใช้ภาษาฮังการีเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นหนึ่งในภาษาทางการไม่กี่ภาษาของสหภาพยุโรป ที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดเป็นกลุ่มภาษาอินโด-ยูโรเปียน ร่วมกับภาษาเอสโตเนีย ภาษาฟินแลนด์ และภาษามอลต.

ประเทศฮังการีและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · ประเทศฮังการีและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

29 สิงหาคม

วันที่ 29 สิงหาคม เป็นวันที่ 241 ของปี (วันที่ 242 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 124 วันในปีนั้น.

29 สิงหาคมและยุทธการที่โมเฮ็คส์ · 29 สิงหาคมและสุลัยมานผู้เกรียงไกร · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร

ยุทธการที่โมเฮ็คส์ มี 20 ความสัมพันธ์ขณะที่ สุลัยมานผู้เกรียงไกร มี 186 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 10, ดัชนี Jaccard คือ 4.85% = 10 / (20 + 186)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธการที่โมเฮ็คส์และสุลัยมานผู้เกรียงไกร หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »