โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

ยุทธการที่เลปันโต vs. เฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

ทธการเลอพานโต (ค.ศ. 1571) (Ναύπακτος, Naupaktos, Battle of Lepanto) เป็นยุทธการในสงครามออตโตมัน-เวนิสครั้งที่ห้า และ สงครามออตโตมัน-ฮับส์บวร์กที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศ. 1571 ในอ่าวพาทราสในทะเลไอโอเนียน เป็นการต่อสู้ระหว่างกองทัพเรือของฝ่ายจักรวรรดิออตโตมัน และฝ่ายสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์แห่งเมดิเตอเรเนียนที่ประกอบด้วยอาณาจักรพระสันตะปาปา สาธารณรัฐเวนิส สาธารณรัฐเจนัว อาณาจักรดยุคแห่งซาวอย สเปน และ อัศวินแห่งมอลตา ผลของยุทธการครั้งนี้ฝ่ายสันนิบาตศักดิ์สิทธิ์เป็นฝ่ายที่ได้รับชัยชนะ การพ่ายแพ้ครั้งนี้เป็นจุดสำคัญของจักรวรรดิออตโตมันที่ไม่เคยได้รับการพ่ายแพ้ทางการยุทธการทางนาวีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 15 ที่ถือกันว่าเป็นแรงบันดาลจากเบื้องบน (act of Divine Will) ที่นักบันทึกพงศาวดารบรรยายว่า "กองเรือหลวงเผชิญหน้ากับผู้นอกศาสนาอันชั่วร้าย แต่พระเจ้าก็หันพระพันตร์ไปทางอื่น" แต่สำหรับผู้เป็นคริสเตียนเหตุการณ์ครั้งนี้ทำให้เกิดความหวังของโอกาสที่จะล่มสลายของตุรกีผู้ที่ถือว่าเป็น "ศัตรูของคริสเตียน" ออตโตมันเหลือเรือเพียง 30 ลำจากกองเรือเกือบ 300 ลำ และทหารและทาสอีกราว 30,000 คนA History Of Warfare - John Keegan, Vintage, 1993 นักประวัติศาสตร์ตะวันตกถือการได้รับชัยชนะครั้งนี้ว่าเป็นชัยชนะที่เด็ดขาดทางราชนาวีที่เกิดขึ้นตั้งแต่ยุทธการอัคเทียม (Battle of Actium) ที่เกิดขึ้นเมื่อปี 31 ก่อนคริสต์ศักร. รดดิน บาร์บารอสซา หรือ บาร์บารอสซา เฮย์เรดดิน ปาชา (Barbaros Hayreddin Paşa หรือ Hızır Hayreddin Paşa หรือ Hızır Reis ก่อนที่จะเป็นปาชา, Hayreddin Barbarossa) (ราว ค.ศ. 1478 - (4 กรกฎาคม ค.ศ. 1546) เฮย์เรดดิน บาร์บารอสซาเป็นนักการทหารคนสำคัญชาวตุรกี ผู้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นปาชา (Pasha) และผู้บังคับบัญชากองทัพเรือของจักรวรรดิออตโตมันผู้มีอิทธิพลในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนเป็นเวลาหลายสิบปี เฮย์เรดดินเกิดบนเกาะมิดิลลิ (เกาะเลสโบสในประเทศกรีซปัจจุบัน) และเสียชีวิตในคอนสแตนติโนเปิลในจักรวรรดิออตโตมัน ชื่อเดิมของเฮย์เรดดินคือ “Yakupoğlu Hızır” (ฮิเซียร์ลูกของยาคุป) ชื่อ “เฮย์เรดดิน” خير الدين แปลว่า “ความดีของศาสนา” เป็นชื่อเกียรติยศที่ได้รับพระราชทานจากสุลต่านสุลัยมานแห่งจักรวรรดิออตโตมัน และมาเป็นที่รู้จักกันว่า “Barbarossa” (หนวดแดง) ในยุโรปซึ่งเป็นชื่อที่รับช่วงต่อจากพี่ชายคนโนโอรุค ไรส์ (Oruç Reis) หรือที่เรียกว่า “บาบาโอรุค” หลังจากที่โอรุคถูกสังหารในการต่อสู้กับสเปนในอัลจีเรีย ชื่อของโอรุคฟังตามหูชาวยุโรปแล้วใกล้เคียงกับคำว่า “บาร์บารอสซา” ซึ่งทำให้ได้รับสมญานามทั้งที่ไม่ได้มีหนวดสีแดงแต่อย่างใ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จักรวรรดิออตโตมัน

จักรวรรดิออตโตมัน

ักรวรรดิออตโตมัน (Ottoman Empire, Osmanlı İmparatorluğu, โอสมานลือ อิมพาราโทรลู) ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 1996 (ค.ศ. 1453) หลังการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ ซึ่งมีคอนสแตนติโนเปิล (อิสตันบูล) เป็นเมืองหลวง สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 เป็นผู้นำในการทำสงคราม ตอนแรกที่ยึดคอนสแตนติโนเปิลได้ พระองค์ได้ทรงเปลี่ยนชื่อเมืองคอนสแตนติโนเปิลใหม่เป็น อิสตันบูล และเปลี่ยนโบสถ์ฮาเจีย โซเฟีย ที่เป็นโบสถ์ในศาสนาคริสต์ เป็นมัสยิดในศาสนาอิสลาม จักรวรรดิออตโตมันมีอาณาเขตที่ครอบคลุมถึง 3 ทวีป ได้แก่ เอเชีย แอฟริกา และยุโรป ซึ่งขยายไปไกลสุดถึงช่องแคบยิบรอลตาร์ทางตะวันตก นครเวียนนาทางทิศเหนือ ทะเลดำทางทิศตะวันออก และอียิปต์ทางทิศใต้ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายในปี พ.ศ. 2466 (ค.ศ. 1923) มีจักรพรรดิเมห์เหม็ดที่ 6 เป็นจักรพรรดิองค์สุดท้าย และมีสาธารณรัฐตุรกี ขึ้นมาแทนที่ และมีมุสตาฟา เคมาล อตาเติร์ก เป็นประธานาธิบดีคนแรก.

จักรวรรดิออตโตมันและยุทธการที่เลปันโต · จักรวรรดิออตโตมันและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา

ยุทธการที่เลปันโต มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ เฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา มี 11 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 4.35% = 1 / (12 + 11)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธการที่เลปันโตและเฮย์เรดดิน บาร์บารอสซา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »