โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์

ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940) vs. แผนมันชไตน์

ทธการที่เซอด็อง หรือ ยุทธการที่เซอด็องครั้งที่สอง (12-15 พฤษภาคม ค.ศ. 1940) เป็นการสู้รบของสงครามโลกครั้งที่สองในช่วงยุทธการที่ฝรั่งเศส การรบเป็นส่วนหนึ่งของแผนปฏิบัติการของกองทัพเวร์มัคท์ในรหัสนามว่า ฟัลล์ เกลบ์(กรณีเหลือง)จากการรุกรานผ่านบริเวณเทือกเขาป่าหนาทึบอาร์แดนเพื่อทำการโอบล้อมกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรในเบลเยียมและทางตะวันตกเฉียงเหนือของฝรั่งเศส กองทัพเยอรมันกลุ่มเอได้ข้ามแม่น้ำเมิซด้วยความมุ่งหมายที่จะเข้ายึดเซอด็อง และผลักดันไปยังชายหาดช่องแคบอังกฤษ เพื่อทำการดักล้อมกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่กำลังเคลื่อนทัพไปยังฝั่งตะวันออกในการเข้าสู่เบลเยียมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแผนการทางยุทธศาสตร์คือแผนดิล เซอด็องตั้งอยู่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเมิซ การเข้ายึดครองนั้นจะทำให้เยอรมันใช้เป็นฐานทัพที่จะเข้ายึดสะพานเมิซและข้ามแม่น้ำ ถ้าหากทำสำเร็จ กองพลเยอรมันก็จะสามารถรุกก้าวข้ามเขตชนบทฝรั่งเศสที่เปิดและไร้การป้องกันนอกเหนือจากเซอด็องและช่องแคบอังกฤษ.เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม เซอด็องได้ถูกยึดครองโดยปราศจากการต่อต้าน ในวันรุ่งขึ้น เยอรมันได้เอาชนะฝ่ายป้องกันของฝรั่งเศสบริเวณรอบๆของเซอด็อง ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเมิซ นี่คือความสำเร็จโดยกองทัพอากาศเยอรมัน ลุฟท์วัฟเฟอ ด้วยผลมาจากการทิ้งระเบิดของเยอรมันและขวัญกำลังใจตกต่ำลง ทำให้ฝ่ายป้องกันของฝรั่งเศสไม่สามารถป้องกันได้อีกต่อไป เยอรมันได้เข้ายึดสะพานเมิซที่เซอด็องได้ช่วยทำให้กองกำลังรวมทั้งยานเกราะสามารถก้าวข้ามแม่น้ำได้สำเร็จ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม กองทัพอากาศฝ่ายสัมพันธมิตร กองทัพอากาศหลวงแห่งอังกฤษ(Royal Air Force-RAF)และกองทัพอากาศฝรั่งเศส(Armée de l'Air)ได้พยายามที่จะทำลายสะพานและป้องกันไม่ให้มีการเสริมกำลังของเยอรมันไปยังฝั่งตะวันตก ลุฟท์วัฟเฟอได้ทำการป้องกันไม่ให้พวกเขาทำเช่นนั้น ในการรบทางอากาศขนาดใหญ่ ฝ่ายสัมพันธมิตรได้รับความสูญเสียมากมายซึ่งส่งผลทำให้การทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์ของฝ่ายสัมพันธมิตรได้หมดลงในช่วงการทัพ การก้าวข้ามแม่น้ำเมิซได้ช่วยทำให้เยอรมันสามารถทำลายยุทธศาสตร์เชิงลึก หรือแนวหลังไร้การป้องกัน แนวรบของฝ่ายสัมพันธมิตรและการรุกสู่ช่องแคบอังกฤษโดยไร้การต่อต้าน ฝรั่งเศสได้พยายามที่จะเปิดการโจมตีตอบโต้กลับต่อกรกับเยอรมันที่หัวสะพานที่ยึดครอง ตั้งแต่วันที่ 15 - 17 พฤษภาคม แต่การรุกรานนั้นทำให้เกิดความล่าช้าและสับสน ห้าวันหลังจากการรวบรวมพลที่หัวสะพานที่เซอด็อง เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม กองทัพเยอรมันสามารถเคลื่อนทัพมาถึงช่องแคบอังกฤษ ด้วยชัยชนะที่เซอด็องนั้นเป็นการบรรลุเป้าหมายของปฏิบัติการฟัลล์ เกลบ์(กรณีเหลือง)และโอบล้อมกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรที่แข็งแกร่งที่สุด รวมทั้งกองกำลังปฏิบัติการทางทหารของอังกฤษ(British Expeditionary Forces หรือ B.E.F.) ผลลัพธ์การรบได้ทำลายส่วนที่เหลือของกองทัพฝรั่งเศสที่เป็นกองทัพที่มีประสิทธิภาพในการรบ,และได้ทำการขับไล่กองทัพอังกฤษออกจากทวีปยุโรปแผ่นดินใหญ่ ได้นำไปสู่ความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในเดือนมิถุนายน.. Fall Gelb (กรณีเหลือง),การบุกครองฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ แผนการมันชไตน์ เป็นหนึ่งในชื่อที่ใช้ในการอธิบายแผนการทางยุทธศาสตร์ของกองทัพเยอรมันในช่วงยุทธการที่ฝรั่งเศสในปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์

ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์ มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยุทธการที่ฝรั่งเศส

ยุทธการที่ฝรั่งเศส

ทธการที่ฝรั่งเศส ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการบุกครองฝรั่งเศสและกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำของเยอรมนีที่สัมฤทธิ์ผล เริ่มตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม..

ยุทธการที่ฝรั่งเศสและยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940) · ยุทธการที่ฝรั่งเศสและแผนมันชไตน์ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์

ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940) มี 14 ความสัมพันธ์ขณะที่ แผนมันชไตน์ มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 5.00% = 1 / (14 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธการที่เซอด็อง (ค.ศ. 1940)และแผนมันชไตน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »