ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ
ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง
ความแตกต่างระหว่าง ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ
ยุทธการที่เกตตีสเบิร์ก vs. สมาพันธรัฐ
ทธการเกตตีสเบิร์ก (Battle of Gettysburg; 1 – 3 กรกฎาคม ค.ศ. 1863) เป็นส่วนหนึ่งของสงครามกลางเมืองอเมริกา โดยเป็นการต่อสู้กันระหว่างฝ่ายสหรัฐอเมริกา นำโดยนายพลจอร์จ กอร์ดอน มีด กับฝ่ายสมาพันธรัฐอเมริกา นำโดยนายพลโรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี โดยสมรภูมิแห่งนี้ได้เกิดขึ้นในเมืองเกตตีสเบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย การปะทะกันกินเวลาทั้งสิ้น 3 วัน ยุทธการดังกล่าวนับว่าเป็นสมรภูมิที่นองเลือดมากแห่งหนึ่งในสงครามกลางเมืองอเมริกา โดยมียอดผู้เสียชีวิตเกือบ 10,000 คน และบาดเจ็บอีกเกือบ 30,000 คน สงครามครั้งนี้ ถือเป็นจุดเปลี่ยนในสงครามกลางเมืองอเมริกัน เนื่องจาก กองทัพแห่งโปโตแมค ภายใต้การนำของ พลตรี จอร์จ กอร์ดอน มีด สามารถเอาชนะ กองทัพแห่งเวอร์จิเนียเหนือ ภายใต้การนำของ พลเอก โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี ซึ่งยุทธการนี้ เป็นการหยุดความพยายามของ โรเบิร์ต เอ็ดเวิร์ด ลี ในการโจมตีฝ่ายเหนือ หลังจากที่นายพล โรเบิร์ต อี. ลี ประสบชัยชนะที่ ยุทธการชาร์ลอตส์วิลล์, เวอร์จิเนีย ในช่วง เดือน พฤษภาคม ค.ศ. 1863 นายพลลี ได้นำทัพผ่าน ช่องเขาเชอนานโดห์ เพื่อเริ่มการโจมตีฝ่ายเหนือเป็นครั้งที่สอง และเมื่อกองทัพของเขามีกำลังใจในการรบสูง ลีตั้งใจที่จะขยับการปะทะขึ้นไปทางเหนือของ เวอร์จิเนีย และหวังว่า นักการเมืองของฝ่ายเหนือ จะยอมเซ็นสนธิสัญญายอมแพ้ เมื่อเขาเข้าโจมตีเมือง แฮริสเบิร์ก, รัฐเพนซิลเวเนีย หรือแม้แต่เมืองที่ใหญ่ที่สุดของ รัฐเพนซิลเวเนีย, เมือง ฟิลาเดลเฟีย เพื่อเป็นการตอบโต้นายพลลี พลตรี โจเซฟ ฮุกเกอร์ จึงได้รับกการทาบทามจาก ประธานาธิบบดี อับราฮัม ลินคอล์น ให้ไล่ล่าลี แต่ฮุกเกอร์ ได้ถูกปลดจากตำแหน่งก่อนยุทธการเกติสเบิร์กราว 3 วัน และ ถูกทดแทนโดย พลตรี จอร์จ กอร์ดอน มีด บางส่วนของทั้งสองกองทัพ ปะทะกันในวันที่ 1 กรกฎาคม บริเวณแนวสันเขาด้านตะวันออกเฉียงเหนือของเมือง ซึ่ง พลจัตวา จอหน์ บูฟอรด์ ผู้นำกองทหารม้าของฝ่ายเหนือ ได้ตั้งแนวป้องกันไว้ ค.ศ. 1863 นายพลลีจึงสั่งให้ทหารราบ สองกองพัน นำโดย พลจัตวา เจมส์ เจ. อาร์ชเชอร์ และ พลจัตวา โจเซฟ อาร์. เดวิสเข้าโจมตีจุดนั้นโดยทันที เพื่อเข้ายึดแนวสันเขา ก่อนที่กำลังเสริมของฝ่ายเหนือ ซึ่งเป็นทหารราบ สองกองพล จะมาถึง หลังจากนั้นไม่นาน ทหารราบฝ่ายใต้อีกสองกองพัน นำโดย พลตรี แฮรรี่ เฮทฮ์ ได้เข้าโจมตีทหารม้าฝ่ายเหนือ ซึ่งได้ลงจากหลังม้าแล้ว ทำให้ทหารฝ่ายเหนือล่าถอยเข้าไปในเมือง ในวันที่สองของยุทธการเกตติสเบิร์ก ส่วนใหญ่ของทั้งสองกองทัพ ได้รวมกลุ่มใหม่แล้ว ฝ่ายเหนือได้ตั้งแนวป้องกัน เป็นรูปเบ็ดตกปลา ในช่วงบ่ายของวันที่ 2 กรกฎาคม นายพลลี ได้ส่งทหารจำนวนมากเข้าโจมตีปีกซ้ายของทหารฝ่ายเหนือ ที่ เขาลิตเตลราวน์ทอป, ทุ่งวิตฟิลล์, เดวิลส เดน และ ไร่พิชออร์ชารด์ และที่ปีกขวาของทหารฝ่ายเหนือ ที่ เขาคัลปส์ฮิลล์ และที่ เขาเซมิแทรีฮิลล์ ถึงแม้จะถูกโจมตีอย่างหนัก ฝ่ายเหนือสามารถคงแนวป้องกันไว้ได้ ในวันที่สามของยุทธการเกตติสเบิร์ก การปะทะยังดำเนินต่อไปที่เขาคัลปส์ฮิลล์ และการปะทะกับทหารม้าของฝ่ายเหนือ ท้งทางปีกซ้างและขวา แต่การปะทะครั้งใหญ่ที่สุดคือที่ เขาเซมิแทรีฮิลล์ รู้ในนามของ พิกก์เกตส์ ชารจ์ นำโดย จอรจ์ เอ็ดเวิรด์ พิกก์เกต์ ฝ่ายใต้ถูกต้านโดยการระดมยิงปืนใหญ่ของฝ่ายเหนือ และปืนไรเฟิล ซึ่งมีระยะหวังผลมากกว่าปืนมัสเกตหลายเท่า ในที่สุด ฝ่ายใต้ได้ถอยทัพออกจากเมือง ด้วยความสูญเสียมหาสาร นายพลลี ได้นำทหารราว 50,000 นาย ถอยทัพกลับสู่ เวอร์จิเนีย ผ่านสภาพอากาศที่เลวร้าย ในการปะทะสามวัน มีความสูญเสียทั้งสองฝ่าย รวมแล้ว ราว 46,000 นาย ถึง 51,000 นาย ในวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1863 ประธานาธิบบดี อับราฮัม ลินคอล์น ได้กล่าวสุนทรพจน์ ยกย่องทหารที่เสียชีวิตในยุทธการนี้ ในสุทรพจน์อันโด่งดังของเขา สุนทรพจน์เกตติสเบิรก์แอดเดร. มาพันธรัฐ (confederation) เป็นศัพท์การเมืองสมัยใหม่ หมายถึง การรวมกันของหน่วยการเมืองเป็นการถาวรเพื่อให้มีการเคลื่อนไหวร่วมกันตามหน่วยอื่น สมาพันธรัฐตามปกติก่อตั้งขึ้นโดยสนธิสัญญา แต่ภายหลังมักก่อตั้งขึ้นจากการเห็นชอบรัฐธรรมนูญร่วมกัน สมาพันธรัฐมีแนวโน้มสถาปนาขึ้นเพื่อจัดการกับปัญหาร้ายแรง เช่น การป้องกัน การระหว่างประเทศหรือสกุลเงินร่วม โดยมีรัฐบาลกลางที่ถูกกำหนดให้จัดหาการสนับสนุนแก่สมาชิกทั้งหมด ธรรมชาติความสัมพันธ์ระหว่างรัฐซึ่งประกอบขึ้นเป็นสมาพันธรัฐนั้นแตกต่างกันมาก เช่นเดียวกับความสัมพันธ์รหว่างรัฐสมาชิก รัฐบาลกลางและการกระจายอำนาจให้รัฐต่าง ๆ ก็มีแตกต่างกันเช่นกัน สมาพันธรัฐอย่างหลวมบางแห่งคล้ายคลึงกับองค์การระหว่างรัฐบาล ขณะที่สมาพันธรัฐอย่างเข้มอาจเหมือนสหพันธรั.
ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ
ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ
การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ
ยุทธการที่เกตตีสเบิร์ก มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ สมาพันธรัฐ มี 1 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (16 + 1)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธการที่เกตตีสเบิร์กและสมาพันธรัฐ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: