โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก vs. แผนลับ 20 กรกฎาคม

ทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก (Valkyrie) เป็นภาพยนตร์อเมริกันในปี ค.ศ. 2008 นำแสดงโดย ทอม ครูซ, เคนเนธ บรานาห์, บิล ไนอี, เอ็ดดี อิซซาร์ด, เทเรนซ์ สแตมพ์, ทอม วิลคินสัน กำกับการแสดงโดย ไบรอัน ซิงเกอร. แผนลับ 20 กรกฎาคม (20 July plot) เป็นความพยายามลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฟือเรอร์แห่งไรช์ที่สาม ภายในกองบัญชาการสนาม "รังหมาป่า" ใกล้เมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม มี 17 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ฟรีดริช ฟรอมม์ฟรีดริช ออลบริชท์ฟือเรอร์พ.ศ. 2551ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองรังหมาป่าลุดวิจ เบควิลเฮล์ม ไคเทิลอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ทอม ครูซนาซีเยอรมนีโยเซฟ เกิบเบลส์ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์เบอร์ลินเอริช เฟ็ลล์กีเบิลเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

ฟรีดริช ฟรอมม์

ฟรีดริช ฟรอมม์ (Friedrich Fromm; 8 ตุลาคม ค.ศ. 1888 – 12 มีนาคม ค.ศ. 1945) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดที่กรุงเบอร์ลิน เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่งในยศร้อยโท ต่อมาเมื่อพรรคนาซีขึ้นสู่อำนาจ ฟรอมม์ได้รับตำแหน่งผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง (Replacement Army) ในช่วงปฏิบัติการบาร์บารอสซา ฟรอมม์ซึ่งมีตำแหน่งเป็นผู้บังคับบัญชากองกำลังสำรอง ก็เป็นหนึ่งในผู้ที่มีอำนาจสูงสุดในกองทัพ เขามีส่วนรู้เห็นถึงแผนลับ 20 กรกฎาคมและปฏิบัติการวาลคิรี แต่เมื่อแผนการล้มเหลว ฟรอมม์ได้สั่งประหารชีวิตผู้สมคบคิดหลายคนเพื่อปิดปากไม่ให้พาดพิงมาถึงตน แต่กระนั้น วันที่ 22 กรกฎาคม..

ฟรีดริช ฟรอมม์และยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ฟรีดริช ฟรอมม์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ฟรีดริช ออลบริชท์

ฟรีดริช ออลบริชท์ (Friedrich Olbricht) เป็นนายพลเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและเป็นหนึ่งในผู้ร่วมสมคิดในเหตุการณ์แผนลับ 20 กรกฎาคมในความพยายามจะลอบสังหารอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ในปี..

ฟรีดริช ออลบริชท์และยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ฟรีดริช ออลบริชท์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ฟือเรอร์

ฟือเรอร์ (Führer) ในภาษาเยอรมัน หมายถึง "ผู้นำ" โดยคำว่า "ฟือเรอร์" มักจะหมายถึง ฉายาของผู้นำนาซีเยอรมนี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ และเป็นตำแหน่งสำคัญในคณะรัฐบาลสมัยนาซีเยอรมนี และองค์กรกึ่งทหาร (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหน่วยเอ็สเอ็ส) โดยคำดังกล่าวเป็นการเอาอย่างจากคำว่า อิลดูเช ในภาษาอิตาลี ซึ่งมีความหมายอย่างเดียวกัน.

ฟือเรอร์และยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ฟือเรอร์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

พ.ศ. 2551

ทธศักราช 2551 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2008 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น.

พ.ศ. 2551และยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · พ.ศ. 2551และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง

"สามผู้ยิ่งใหญ่": (ซ้าย) โจเซฟ สตาลิน แห่งโซเวียต(กลาง) แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ แห่งสหรัฐ(ขวา) วินสตัน เชอร์ชิล แห่งสหราชอาณาจักรในการประชุมเตหะราน เมื่อ ค.ศ. 1943 ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นกลุ่มประเทศที่ต่อสู้กับฝ่ายอักษะช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ฝ่ายสัมพันธมิตรเข้ามาพัวพันในสงครามโลกครั้งที่สองเพราะประเทศเหล่านี้ถูกรุกรานก่อน ถูกคุกคามโดยตรงจากการรุกรานของฝ่ายอักษะหรือเพราะประเทศเหล่านี้กังวลว่าฝ่ายอักษะจะควบคุมโลกอย่างใดอย่างหนึ่ง แนวร่วมต่อสู้เยอรมนีช่วงสงครามเริ่มต้น (1 กันยายน ค.ศ. 1939) ประกอบด้วยฝรั่งเศส โปแลนด์ สหราชอาณาจักร ชาติเครือจักรภพอังกฤษ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหภาพแอฟริกาใต้ (กำลังสหภาพแอฟริกาใต้ส่วนใหญ่สู้รบภายใต้การบัญชาของเครือจักรภพแม้จะเป็นชาติอธิปไตยนับแต่ ค.ศ. 1931) หลัง..

ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองและยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สองและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

รังหมาป่า

ซากของบังเกอร์ที่ใหญ่ที่สุด (ของฮิตเลอร์) ในรังหมาป่า รังหมาป่า (Wolfsschanze โวลฟส์ชันเซอ) เป็นกองบัญชาการใหญ่ทางทหารแห่งแรกในแนวรบด้านตะวันออก ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ซึ่งเป็นหนึ่งในกองบัญชาการฟือเรอร์ทั่วทวีปยุโรป กองบัญชาการดังกล่าวถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเตรียมการสำหรับปฏิบัติการบาร์บารอสซา ซึ่งถูกพบในป่ามัสอูเริน (Masuren) ใกล้กับเมืองรัสเทนบูร์ก แคว้นปรัสเซียตะวันออก ซึ่งปัจจุบัน คือ เมือง Kętrzyn ในประเทศโปแลนด์ ฮิตเลอร์เดินทางมาถึงรังหมาป่าเป็นครั้งแรกในคืนวันที่ 23 มิถุนายน..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและรังหมาป่า · รังหมาป่าและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ลุดวิจ เบค

ลุดวิจ ออกุส ธีโอดอร์ เบค(Ludwig August Theodor Beck; 4 มิถุนาย ค.ศ. 1880 – 21 กรกฏาคม ค.ศ. 1944)เป็นนายพลชาวเยอรมันและเป็นเสนาธิการเยอรมันในช่วงปีแรกของระบอบนาซีในเยอรมนีก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ลุดวิจ เบคไม่เคยเป็นสมาชิกพรรคนาซี อย่างไรก็ตามในช่วงแรกของปี..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและลุดวิจ เบค · ลุดวิจ เบคและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

วิลเฮล์ม ไคเทิล

วิลเฮล์ม โยดีวิน โยฮันท์ กุสตาฟ ไคเทิล (Wilhelm Bodewin Johann Gustav Keitel) เป็นจอมพลเยอรมันซึ่งดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองบัญชาการใหญ่แห่งเวร์มัคท์ ตลอดช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ตำแหน่งของเขาเทียบได้กับรัฐมนตรีกลาโหม หลังสิ้นสุดสงคราม เขาถูกนำตัวเข้ารับการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์กของสัมพันธมิตร เขาได้พยายามต่อสู้คดีแต่กลับถูกตัดสินโทษประหารชีวิตด้วยการแขวนคอ เขาถือเป็นหนึ่งในสามผู้บัญชาการทหารระดับสูงสุดของเยอรมันที่ถูกนำตัวขึ้นพิจารณาคดี.

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและวิลเฮล์ม ไคเทิล · วิลเฮล์ม ไคเทิลและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์

อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) เป็นนักการเมืองเยอรมันเชื้อชาติออสเตรีย หัวหน้าพรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อ พรรคนาซี ฮิตเลอร์ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนี ระหว่าง..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ · อดอล์ฟ ฮิตเลอร์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

ทอม ครูซ

ทมัส ครูซ เมโพเธอร์ที่ 4 (Thomas Cruise Mapother IV) เกิดวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ที่เมืองซีราคิวส์ รัฐนิวยอร์ก ปัจจุบันอายุ ปี จบการศึกษามัธยมปลาย จากเกลน ไรดจ์ เคยแต่งงานกับดาราสาวมิมิ โรเจอร์ จากนั้นหย่ากัน ก่อนที่จะแต่งงานใหม่กับดาราสาวชาวออสเตรเลีย นิโคล คิดแมน ในปี 1990 และเลิกรากันในปี 2001 ต่อมาได้แต่งงานและมีบุตรสาวกับ เคที โฮล์มส ชื่อซูรี เกิดเมื่อ 18 เมษายน..

ทอม ครูซและยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · ทอม ครูซและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

นาซีเยอรมนี

นาซีเยอรมนี (Nazi Germany) หรือ ไรช์ที่สาม (Drittes Reich) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (Deutsches Reich) เป็นชื่อเรียกยุคหนึ่งในประวัติศาสตร์เยอรมนีระหว่างปี 1933 ถึง 1945 เมื่อประเทศเยอรมนีอยู่ภายใต้การควบคุมระบอบเผด็จการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์และพรรคนาซี ในการปกครองของฮิตเลอร์ ประเทศเยอรมนีกลายเป็นรัฐฟาสซิสต์ซึ่งควบคุมแทบทุกแง่มุมของชีวิต นาซีเยอรมนีล่มสลายหลังฝ่ายสัมพันธมิตรพิชิตเยอรมนีในเดือนพฤษภาคม 1945 ซึ่งยุติสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐไวมาร์ เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์กแต่งตั้งฮิตเลอร์เป็นนายกรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มกราคม 1933 จากนั้น พรรคนาซีเริ่มกำจัดคู่แข่งทางการเมืองและรวบอำนาจ ฮินเดนบูร์กถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 1934 และฮิตเลอร์เป็นผู้เผด็จการแห่งเยอรมนีโดยการรวมอำนาจและตำแหน่งของนายกรัฐมนตรีกับประธานาธิบดี มีการจัดการลงประชามติทั่วประเทศเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 1934 ทำให้ฮิตเลอร์เป็นฟือเรอร์ (ผู้นำ) เยอรมนีเพียงผู้เดียว อำนาจเบ็ดเสร็จทั้งหมดรวมอยู่ในมือของฮิตเลอร์ และคำของเขาอยู่เหนือกฎหมายทั้งปวง รัฐบาลมิได้เป็นหน่วยที่ร่วมมือประสานกัน หากแต่เป็นหมู่กลุ่มแยกต่าง ๆ ที่แก่งแย่งอำนาจและความนิยมจากฮิตเลอร์ ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ นาซีฟื้นฟูเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและยุติการว่างงานขนานใหญ่โดยใช้รายจ่ายทางทหารอย่างหนักและเศรษฐกิจแบบผสม มีการดำเนินการโยธาสาธารณะอย่างกว้างขวาง รวมการก่อสร้างเอาโทบาน การคืนเสถียรภาพทางเศรษฐกิจส่งเสริมความนิยมของรัฐบาลให้เพิ่มพูนขึ้น คตินิยมเชื้อชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การต่อต้านยิว เป็นลักษณะหัวใจของนาซีเยอรมนี โดยถือว่า กลุ่มชนเจอร์มานิค หรือเชื้อชาตินอร์ดิก (Nordic race) เป็นเชื้อชาติอารยันซึ่งบริสุทธิ์ที่สุด ฉะนั้นจึงเป็นเชื้อชาติปกครอง (master race) ชาวยิวและชนกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกเบียดเบียนหรือฆ่า และการค้านการปกครองของฮิตเลอร์ถูกปราบปรามอย่างโหดเหี้ยม สมาชิกฝ่ายค้านเสรีนิยม สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ถูกฆ่า จำคุกหรือเนรเทศ โบสถ์คริสต์ก็ถูกกดขี่เช่นกัน โดยผู้นำหลายคนถูกจำคุก การศึกษามุ่งเน้นชีววิทยาเชื้อชาติ นโยบายประชากร และสมรรถภาพทางกายสำหรับราชการทหาร โอกาสในอาชีพและการศึกษาของสตรีถูกตัดทอน มีการจัดนันทนาการและการท่องเที่ยวผ่านโครงการความแข็งแรงผ่านความรื่นเริง (Strength Through Joy) มีการใช้โอลิมปิกฤดูร้อน 1936 เป็นตัวนำเสนอไรช์ที่สามในเวทีระหว่างประเทศ รัฐมนตรีโฆษณาการ โยเซฟ เกิบเบิลส์ ใช้ภาพยนตร์ การชุมนุมมวลชน และวาทศิลป์จับจิตของฮิตเลอร์เพื่อควบคุมมติมหาชนอย่างได้ผล รัฐบาลควบคุมการแสดงออกทางศิลปะ โดยสนับสนุนศิลปะบางรูปแบบ แต่ขัดขวางหรือห้ามศิลปะรูปแบบอื่น เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ทศวรรษ 1930 นาซีเยอรมนีเรียกร้องดินแดนอย่างก้าวร้าวมากขึ้นเรื่อย ๆ และขู่ทำสงครามหากไม่สนองข้อเรียกร้อง เยอรมนียึดออสเตรียและเชโกสโลวาเกียในปี 1938 และ 1939 ฮิตเลอร์ทำสนธิสัญญาไม่รุกรานกับโจเซฟ สตาลิน และบุกครองโปแลนด์ในเดือนกันยายน 1939 เป็นการเปิดฉากสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป เยอรมนีเข้าเป็นพันธมิตรกับอิตาลีและฝ่ายอักษะที่เล็กกว่าและพิชิตทวีปยุโรปส่วนใหญ่เมื่อถึงปี 1940 และคุกคามสหราชอาณาจักร ไรช์ซคอมมิสซารีอัทควบคุมพื้นที่ที่ถูกพิชิตอย่างโหดร้ายและมีการสถาปนาการปกครองของเยอรมนีในประเทศโปแลนด์ที่เหลืออยู่ ชาวยิวและกลุ่มอื่นที่ถือว่าไม่พึงปรารถนาถูกจำคุกในค่ายกักกันและค่ายกำจัดนาซี การนำนโยบายเชื้อชาติของระบอบไปปฏิบัติลงเอยด้วยการสังหารชาวยิวและชนกลุ่มน้อยอื่นเป็นอันมากในฮอโลคอสต์ หลังการรุกรานสหภาพโซเวียตในปี 1941 นาซีเยอรมนีก็เริ่มเป็นรอง และปราชัยทางทหารสำคัญหลายครั้งในปี 1943 การทิ้งระเบิดทางอากาศต่อประเทศเยอรมนีทวีขึ้นในปี 1944 และฝ่ายอักษะถอยจากยุโรปตะวันออกและยุโรปใต้ หลังการบุกครองฝรั่งเศสของสัมพันธมิตร ประเทศเยอรมนีถูกโซเวียตจากทิศตะวันออกและฝ่ายสัมพันธมิตรจากทิศตะวันตกพิชิตและยอมจำนนในหนึ่งปี การที่ฮิตเลอร์ปฏิเสธยอมรับความปราชัยนำให้โครงสร้างพื้นฐานของเยอรมนีถูกทำลายล้างขนานใหญ่และการเสียชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสงครามเพิ่มในเดือนท้าย ๆ ของสงคราม ฝ่ายสัมพันธมิตรผู้กำชัยริเริ่มนโยบายขจัดความเป็นนาซี (denazification) และนำผู้นำนาซีที่เหลือรอดหลายคนมาพิจารณาคดีอาชญากรรมสงครามในการพิจารณาคดีเนือร์นแบร์ก ส่วนประเทศเยอรมนีถูกยึดครองโดยมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรคือ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร.

นาซีเยอรมนีและยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก · นาซีเยอรมนีและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

โยเซฟ เกิบเบลส์

ล์ โยเซฟ เกิบเบลส์ (Paul Joseph Goebbels) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โยเซฟ เกิบเบลส์ นักจิตวิทยามวลชน และแกนนำคนสำคัญฝ่ายพลเรือนของพรรคนาซี ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแห่งจักรวรรดิที่สามหลังจากที่อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ฆ่าตัวตาย ได้ชื่อว่าเป็นเสมือนมือซ้ายของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ (ขณะที่มือขวาคือ ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์).

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและโยเซฟ เกิบเบลส์ · แผนลับ 20 กรกฎาคมและโยเซฟ เกิบเบลส์ · ดูเพิ่มเติม »

ไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์

น์ริช ลุทโพลด์ ฮิมม์เลอร์ (Heinrich Luitpold Himmler) เป็นหนึ่งในผู้นำพรรคนาซีในเยอรมนี และเป็น ไรชส์ฟือเรอร์-เอ็สเอ็ส ของหน่วย ชุทซ์ชทัฟเฟิล (เอ็สเอ็ส) รับผิดชอบด้านการคุมกำลังหน่วยวัฟเฟิน-เอ็สเอ็สทั้งหมดในไรช์ เขาเป็นหนึ่งในผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในไรช์ และเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงในการทำฮอโลคอสต์ชาวยิวSource: Der Spiegel, Issue dated 3 November 2008: Hitlers Vollstrecker – Aus dem Leben eines Massenmörders ฮิมม์เลอร์เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · แผนลับ 20 กรกฎาคมและไฮน์ริช ฮิมม์เลอร์ · ดูเพิ่มเติม »

เบอร์ลิน

อร์ลิน (แบร์ลีน) เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบูร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 1คนจาก 1ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป, Eurostat.

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและเบอร์ลิน · เบอร์ลินและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เอริช เฟ็ลล์กีเบิล

ฟริทซ์ เอริช เฟ็ลล์กีเบิล (Fritz Erich Fellgiebel; 4 ตุลาคม ค.ศ. 1886 – 4 กันยายน ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารในกองทัพเยอรมัน เกิดที่เมืองโปโปวิตเซ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศโปแลนด์) เมื่ออายุ 18 ปี เขาเข้าร่วมหน่วยทหารสื่อสารในกองทัพบกปรัสเซีย ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เฟ็ลล์กีเบิลอยู่สังกัดหน่วยเสนาธิการทหารบก หลังสงคราม เขาประจำอยู่ที่กรมเสนาธิการไรชส์เวร์ในเบอร์ลิน ในปี..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและเอริช เฟ็ลล์กีเบิล · เอริช เฟ็ลล์กีเบิลและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์

แฮร์มันน์ เฮนนิง คาร์ล โรแบร์ท ฟอน เทรสคอว์ (Hermann Henning Karl Robert von Tresckow) หรือ เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ (10 มกราคม ค.ศ. 1901 – 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1944) เป็นนายทหารชาวเยอรมัน เกิดในครอบครัวทหารที่เมืองมักเดบูร์ก เขาเข้ารับราชการในกรมทหารราบที่ 9 พอทสดัม ขณะมีอายุเพียง 16 ปี และได้รับกางเขนเหล็กชั้นที่ 1 จากวีรกรรมในยุทธการที่แม่น้ำมาร์นครั้งที่สอง หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เทรสคอว์ลาออกจากกองทัพเพื่อไปเรียนต่อด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ และแต่งงานกับบุตรสาวคนหนึ่งของครอบครัวทหาร เขากลับเข้ารับราชการทหารอีกครั้งด้วยการสนับสนุนจากเพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก และเริ่มรับรู้ถึงแผนการของอดอล์ฟ ฮิตเลอร์ที่ตั้งใจจะก่อสงครามโลกอีกครั้ง เทรสคอว์มีส่วนในการบุกครองโปแลนด์และยุทธการที่ฝรั่งเศส รวมถึงดูแลพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ในปฏิบัติการบาร์บารอสซา ในช่วงแรก เทรสคอว์เป็นผู้สนับสนุนพรรคนาซี เพราะไม่พอใจในสนธิสัญญาแวร์ซาย แต่หลังจากเหตุการณ์ "คืนแห่งมีดยาว" (Night of the Long Knives) เขาก็เริ่มต่อต้านพรรคนาซีและมีส่วนในหลายแผนการลอบสังหารฮิตเลอร์ เช่น ปฏิบัติการสปาร์คและแผนลับ 20 กรกฎาคม ซึ่งหลังจากแผนลอบสังหารวันที่ 20 กรกฎาคม ล้มเหลว เทรสคอว์ก็ตัดสินใจกระทำอัตวินิบาตกรรมในวันต่อม.

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและเฮนนิง ฟอน เทรสคอว์ · เฮนนิง ฟอน เทรสคอว์และแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก

ันเอก เคลาส์ ฟีลิพพ์ มาเรีย เชงค์ กรัฟ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก (Claus Philipp Maria Schenk Graf von Stauffenberg) เป็นทหารบกและสมาชิกตระกูลขุนนางชาวเยอรมันซึ่งเป็นสมาชิกผู้นำคนหนึ่งของแผนลับ 20 กรกฎาคม..

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและเคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์ก · เคลาส์ ฟอน ชเตาฟ์เฟนแบร์กและแผนลับ 20 กรกฎาคม · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม

ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็ก มี 60 ความสัมพันธ์ขณะที่ แผนลับ 20 กรกฎาคม มี 87 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 17, ดัชนี Jaccard คือ 11.56% = 17 / (60 + 87)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุทธการดับจอมอหังการ์อินทรีเหล็กและแผนลับ 20 กรกฎาคม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »