โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ดาวน์โหลด
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน

ยุคคะมะกุระ vs. เซ โชนะงน

มะกุระ หรือ อ่านแบบไทย คะมะกุระ ตรงกับปีค.ศ. 1185-ค.ศ. 1333 เป็นยุคที่ญี่ปุ่นเริ่มต้นการปกครองระบบศักดินาโดยจักรพรรดิเป็นผู้มีอำนาจการปกครอง แต่เพียงในนามรัฐบาลทหารที่เรียกว่า คะมะกุระ บะกุฟุ ซึ่งมีโชกุนเป็นหัวหน้าปกครองประเทศในนามจักรพรรดิมีอำนาจเด็ดขาดทั้งทางการเมืองและการทหาร มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นโชกุนคนแรกจัดตั้งรัฐบาลทหารมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองคะมะกุระ ส่วนจักรพรรดิประทับที่เมืองเฮอัง ในยุคคะมะกุระญี่ปุ่นต้องเผชิญหน้ากับการรุกรานจากกองทัพมองโกลภายใต้การนำของ กุบไลข่าน ในสมัย ราชวงศ์หยวน ซึ่งโดนโจมตีครั้งแรกในปี.. ''เซ โชนะงน'' ภาพประกอบจาก ''เฮียะคุนิงนิชชู'' เซ โชนะงน (清少納言,Sei Shōnagon), (ค.ศ. 966-1017)เป็นกวีหญิงชาวญี่ปุ่นผู้ประพันธ์รวมบทความชื่อ มะคุระโนะโซชิ (枕草子, makura no sōshi,The Pillow Book)- หนังสือข้างหมอน และเป็นนางในราชสำนักสมัยกลางยุคเฮอัน ถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิ หรือ ซะดะโกะ และเป็นกวีหญิงร่วมสมัยเดียวกับ มุระซะกิ ชิคิบุ ยังไม่เป็นที่ปรากฏว่าชื่อจริงของ เซ โชนะงน ชื่ออะไร คำเรียกขานว่า เซ โชนะงน มาจากธรรมเนียมหลีกเลี่ยงการเรียกชื่อจริงของสตรีชั้นสูง โดยจะเรียกชื่อแทนตัวจาก ยศ ตำแหน่ง ส่วนหนึ่งของชื่อจริง หรือไม่ก็เรียกตามยศของญาติทางฝ่ายชาย สันนิษฐานกันว่า เซ(清,Sei) มาจากชื่อตระกูลคิโยะฮะระ (清原,Kiyohara) โชนะงน (少納言,Shōnagon) เป็นชื่อตำแหน่งหนึ่งของขุนนางในอำมาตยสภา (Daijoukan) ไม่มีหลักฐานว่าญาติคนใดของเธอได้ตำแหน่งโชนะงน บรรดานักวิชาการทั้งหลายสันนิษฐานว่าอาจจะเป็นไปได้ที่ชื่อจริงของเธอคือ คิโยะฮะระ นะงิโกะ (清原 諾 子, Kiyohara Nagiko) หลักฐานรายละเอียดของชีวประวัติของเธอที่นอกเหนืองานเขียนของเธอเอง มีอยู่น้อยมาก กล่าวว่า เธอเป็นบุตรีของ คิโยะฮะระ โนะ โมะโตะสุเกะ (Kiyohara no Motosuke) นักปราชญ์และกวีแบบวะกะ ที่มีชื่อเสียง ปู่ของเธอคือ คิโยะฮะระ โนะ ฟุคุยะบุ (Kiyohara no Fukayabu) กวีชื่อชื่อดัง แต่พวกเขาก็เป็นเพียงขุนนางชั้นกลางเท่านั้น เมื่ออายุได้ 27 ปี เธอแต่งงานกับทะจิบะนะ โนะริมิตสึ (Tachibana Norimitsu)เมื่ออายุ 16 ปี และมีบุตรชายด้วยกัน 1 คน หลังจากนั้น เธอแต่งงานใหม่กับ ฟุจิวะระ มุเนะโยะ (Fujiwara Muneyo) และมีบุตรีให้เขา ราวปี.ศ 990 เธอเริ่มเข้าถวายการรับใช้จักรพรรดินีเทชิบุตรีของฟุจิวะระ มิจิทะกะ (Fujiwara Michitaka) จักรพรรดินีในพระจักรพรรดิอิจิโจ (Ichijō) และหย่าขาดกับสามี ตำหนักของจักรพรรดินีเทชิในเวลานั้น กลายเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมทางวัฒนธรรมในราชสำนักเฮอัน เซ โชนะงน มีชื่อเสียงจาก มะคุระโนะโซชิ งานเขียนที่รวบรวมบทความเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ทั้งเรื่องฤดูกาล เรื่องซุบซิบ บทร้อยกรอง การสังเกตการณ์ในเรื่องต่างๆ การบ่นเรื่องที่ไม่ชอบ และ เรื่องราวที่เธอคิดว่าสนุกสนานน่าสนใจ ระหว่างช่วงเวลาที่เธอทำงานในราชสำนัก ใน มะคุระโนะโซชิ ยังเขียนถึง เหตุการณ์วิกฤตของจักรพรรดินีเทชิ เมื่อขาดคนมีอำนาจหนุนหลัง หลังจากบิดาเสียชีวิตและพี่ชายถูกเนรเทศ โดยศัตรูทางการเมืองคนสำคัญ อาของเธอ ฟุจิวะระ มิจินะงะ รวบอำนาจการปกครองในราชสำนักไว้ในมือ ยังได้ส่งบุตรีของเขา โชชิ หรือ อะคิโกะ เข้ามาเป็นพระชายาของจักรพรรดิอิจิโจ ด้วยมีเหตุเพลิงใหม้พระราชวังเฮอันบ่อยครั้ง จักรพรรดิเทชิจึงถูกส่งไปพำนักชั่วคราวขณะก่อสร้างพระราชวังใหม่ที่ที่ประทับสำหรับจักรพรรดินีนอกพระราชฐาน เซ โชนะงน บันทึกไว้ว่า จักรพรรดินีเทชิ เจ้านายของเธอเสียชีวิตจาการคลอดบุตรในปี..1000 ไม่มีหลักฐานเกี่ยวกับชีวิตของเซ โชนะงน หลังปี..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน

ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน มี 1 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยุคเฮอัง

ยุคเฮอัง

อัง อยู่ในช่วง ค.ศ. 794 - ค.ศ. 1185 ในปลายศตวรรษที่ 8 มีการย้ายเมืองหลวงไปที่ เฮอังเกียว (平安京 Heian-kyou) หรือเมืองเคียวโตะในปัจจุบัน นับเป็นยุคทองของประเทศญี่ปุ่น ที่ทั้งศิลปะและวัฒนธรรมรุ่งเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมต่างๆ ที่หยิบยืมมาจากประเทศจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และลัทธิขงจื้อ จนกลายเป็นวัฒนธรรมแบบเฉพาะตัวของญี่ปุ่น เฮอัง (平安,Heian) แปลว่า ความสงบสันต.

ยุคคะมะกุระและยุคเฮอัง · ยุคเฮอังและเซ โชนะงน · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน

ยุคคะมะกุระ มี 38 ความสัมพันธ์ขณะที่ เซ โชนะงน มี 5 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 1, ดัชนี Jaccard คือ 2.33% = 1 / (38 + 5)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยุคคะมะกุระและเซ โชนะงน หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »