โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด

ยามซากุระร่วงโรย vs. โรคหืด

มซากุระร่วงโรย (5 Centimeters Per Second: a chain of short stories about their distance) เป็นอะนิเมะซึ่งมาโกโตะ ชิงไก กำกับและอำนวยการผลิต และเท็นมง (Tenmon) ประพันธ์เพลงประกอบ เนื้อหาว่าด้วยชายหนุ่มคนหนึ่งกับคนรักในวัยเด็กที่ต้องห่างกัน แต่แม้เวลาผ่านไปนานเท่าไร ชายหนุ่มยังฝังตัวอยู่กับคำมั่นสัญญาว่าจะครองคู่กันเมื่อโตขึ้น ขณะที่หญิงสาวละทิ้งมัน เพราะเห็นว่าเป็นความผูกพันของเด็ก และวิวาห์กับชายคนใหม่ ซึ่งเป็นตอนจบแนวที่ไม่ปรากฏมาก่อนในงานของชิงไก เพราะเปิดให้ตีความได้หลายหลาก อะนิเมะเรื่องนี้สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 โดยแบ่งเป็นสามบทต่อเนื่องกัน คือ เสี้ยวดอกซากุระ, นักบินอวกาศ (Cosmonaut) และ ห้าเซนติเมตรต่อวินาที (5 Centimeters per Second) ทั้งหมดเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมงกว่า บทแรกนั้นเผยแพร่ให้ชมแบบเสียเงินผ่านเว็บไซต์ ยาฮู! ระหว่างวันที่ 16-19 กุมภาพันธ์ 2550 จากนั้น จึงออกฉายทั้งฉบับเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ณ โรงภาพยนตร์ซินามาไรซ์ (Cinema Rise) แขวงชิบุยะ กรุงโตเกียว และขายแบบดีวีดีตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม ปีนั้น ต่อมา จึงขายแบบนิยายเป็นเล่ม ใช้ชื่อเดียวกับอะนิเมะ แล้วทำเป็นมังงะ วาดภาพโดย เซเกะ ยุกิโกะ (Seike Yukiko) ลงพิมพ์ในนิตยสาร แอฟเทอร์นูน (Afternoon) ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2553 จนจบในเดือนมิถุนายน ปีต่อมา อะนิเมะเรื่องนี้ประสบความสำเร็จดีทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและต่างบ้านต่างเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาพสดใสมลังเมลืองชวนเพ้อฝันนั้น ยังให้ชิงไกได้รับการเชิดชูว่า จะเป็นเจ้าพ่อวงการอะนิเมะคนต่อไปถัดจากฮะยะโอะ มิยะซะกิ (Hayao Miyasaki). รคหืด (asthma) เป็นโรคการอักเสบเรื้อรังของทางเดินอากาศหายใจที่พบบ่อย ลักษณะคือ มีอาการหลายอย่างแบบเป็นซ้ำ มีการอุดกั้นทางเดินอากาศหายใจและหลอดลมหดเกร็งแบบย้อนกลับได้ อาการทั่วไปมีเสียงหวีด ไอ แน่นหน้าอกและหายใจกระชั้น เชื่อว่าโรคหืดเกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมผสมกัน การวินิจฉัยโดยปกติอาศัยรูปแบบของอาการ การตอบสนองต่อการรักษาตามเวลาและการวัดปริมาตรอากาศหายใจ (spirometry) ในทางคลินิก จำแนกตามความถี่ของอาการ ปริมาตรการหายใจออกเบ่งใน 1 วินาที (FEV1) และอัตราการไหลหายใจออกสูงสุด (peak expiratory flow rate) โรคหืดยังอาจจำแนกเป็นภูมิแพ้กรรมพันธุ์ (atopic) หรือภายนอก (extrinsic) หรือไม่ใช่ภูมิแพ้กรรมพันธุ์ (non-atopic) หรือภายใน (intrinsic) โดยภูมิแพ้กรรมพันธุ์หมายถึงความไวแฝงรับโรค (predisposition) ต่อการเกิดปฏิกิริยาไวเกินชนิดที่ 1 การรักษาอาการเฉียบพลันโดยปกติใช้ตัวทำการบีตา-2 ที่ออกฤทธิ์สั้นแบบสูด (inhaled short-acting beta-2 agonist) เช่น ซัลบูทามอล และคอร์ติโคสเตอรอยด์ทางปาก ในผู้ป่วยที่อาการรุนแรงมาก อาจต้องใช้คอร์ติโคสเตอรอยด์ แมกนีเซียมซัลเฟตทางหลอดเลือดดำ และให้เข้าโรงพยาบาล อาการสามารถป้องกันได้โดยการเลี่ยงตัวกระตุ้น เช่น สารก่อภูมิแพ้และยาระคาย และโดยการใช้คอร์ติโคสเตอรอยด์แบบสูด ตัวทำการบีตาที่ออกฤทธิ์ยาว (LABA) หรือสารต้านลิวโคไตรอีน (antileukotriene) อาจใช้เพิ่มเติมจากคอร์ติโคสเตอรอยด์แบบสูดหากยังควบคุมอาการโรคหืดไม่ได้ การเกิดโรคหืดเพิ่มขึ้นอย่างสำคัญนับแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 ในปี 2554 มีผู้ได้รับวินิจฉัยเป็นโรคหืดทั่วโลก 235–300 ล้านคน และเป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 250,000 คน ส่วนใหญ่เป็นคนในประเทศกำลังพัฒนา ผู้ป่วยส่วนใหญ่เริ่มมีอาการตั้งแต่วัยเด็ก ประวัติศาสตร์ของโรคหืดมีย้อนไปถึงสมัยอียิปต์โบราณ.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด

ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด

ยามซากุระร่วงโรย มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ โรคหืด มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (29 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและโรคหืด หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »