โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย

ยามซากุระร่วงโรย vs. ยามสายฝนโปรยปราย

มซากุระร่วงโรย (5 Centimeters Per Second: a chain of short stories about their distance) เป็นอะนิเมะซึ่งมาโกโตะ ชิงไก กำกับและอำนวยการผลิต และเท็นมง (Tenmon) ประพันธ์เพลงประกอบ เนื้อหาว่าด้วยชายหนุ่มคนหนึ่งกับคนรักในวัยเด็กที่ต้องห่างกัน แต่แม้เวลาผ่านไปนานเท่าไร ชายหนุ่มยังฝังตัวอยู่กับคำมั่นสัญญาว่าจะครองคู่กันเมื่อโตขึ้น ขณะที่หญิงสาวละทิ้งมัน เพราะเห็นว่าเป็นความผูกพันของเด็ก และวิวาห์กับชายคนใหม่ ซึ่งเป็นตอนจบแนวที่ไม่ปรากฏมาก่อนในงานของชิงไก เพราะเปิดให้ตีความได้หลายหลาก อะนิเมะเรื่องนี้สร้างแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 22 มกราคม 2550 โดยแบ่งเป็นสามบทต่อเนื่องกัน คือ เสี้ยวดอกซากุระ, นักบินอวกาศ (Cosmonaut) และ ห้าเซนติเมตรต่อวินาที (5 Centimeters per Second) ทั้งหมดเป็นเวลาหนึ่งชั่วโมงกว่า บทแรกนั้นเผยแพร่ให้ชมแบบเสียเงินผ่านเว็บไซต์ ยาฮู! ระหว่างวันที่ 16-19 กุมภาพันธ์ 2550 จากนั้น จึงออกฉายทั้งฉบับเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 3 มีนาคม ปีเดียวกัน ณ โรงภาพยนตร์ซินามาไรซ์ (Cinema Rise) แขวงชิบุยะ กรุงโตเกียว และขายแบบดีวีดีตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม ปีนั้น ต่อมา จึงขายแบบนิยายเป็นเล่ม ใช้ชื่อเดียวกับอะนิเมะ แล้วทำเป็นมังงะ วาดภาพโดย เซเกะ ยุกิโกะ (Seike Yukiko) ลงพิมพ์ในนิตยสาร แอฟเทอร์นูน (Afternoon) ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2553 จนจบในเดือนมิถุนายน ปีต่อมา อะนิเมะเรื่องนี้ประสบความสำเร็จดีทั้งในบ้านเกิดเมืองนอนและต่างบ้านต่างเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ภาพสดใสมลังเมลืองชวนเพ้อฝันนั้น ยังให้ชิงไกได้รับการเชิดชูว่า จะเป็นเจ้าพ่อวงการอะนิเมะคนต่อไปถัดจากฮะยะโอะ มิยะซะกิ (Hayao Miyasaki). มสายฝนโปรยปราย (The Garden of Words) เป็นภาพยนตร์แอนิเมชั่นความยาว 46 นาที กำกับโดย มาโกโตะ ชิงไก มีการฉายรอบปฐมทัศน์ที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ Gold Coast Film ที่ออสเตรเลีย เมื่อ 28 เมษายน..

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย

ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): มาโกโตะ ชิงไกทีไอจีเอโตเกียว

มาโกโตะ ชิงไก

มาโกโตะ ชิงไก หรือชื่อเกิด มาโกโตะ นีสึ เป็นผู้กำกับภาพยนตร์การ์ตูนชาวญี่ปุ่น และเคยเป็นนักออกแบบกราฟิก จากผลงานอะนิเมะที่โด่งดังและสร้างความประทับใจของเขา ทำให้เขาได้รับการขนานนามว่าเป็นฮะยะโอะ มิยะซะกิ คนใหม่แห่งวงการ เขาเกิดที่ตำบลโคมิ ในจังหวัดนางาโนะ และเข้าศึกษาวรรณกรรมญี่ปุ่นที่มหาวิทยาลัยชูโอ ที่ๆเขาเป็นสมาชิกชมรมยุวชนวรรณกรรม ในสมัยที่เขาเรียนในระดับมัธยมปลาย เขาหลงไหลในมังงะ, อนิเมะและนวนิยาย ซึ่งนั่นได้ให้แรงบันดาลใจแก่เขา โดยเฉพาะภาพยนตร์การ์ตูนที่เขาชอบมากที่สุดในวัยนั้น คือ ลาพิวต้า พลิกตำนานเหนือเวหา ของฮะยะโอะ มิยะซะกิ ผลงานอะนิเมะที่โด่งดังที่สุดของเขา คือเรื่อง หลับตาฝัน ถึงชื่อเธอ ที่ออกฉายในปี..

มาโกโตะ ชิงไกและยามซากุระร่วงโรย · มาโกโตะ ชิงไกและยามสายฝนโปรยปราย · ดูเพิ่มเติม »

ทีไอจีเอ

ริษัททีไอจีเอ จำกัด (TIGA Co., Ltd.) หรือเรียกโดยย่อว่า ไทก้า เป็นบริษัทตัวแทนลิขสิทธิ์ในประเทศไทย จดทะเบียนเป็นนิติบุคคลเอกชนเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2540http://www.tigatime.com/PageAboutUs.php เกี่ยวกับบริษัท ทีไอจีเอ ปัจจุบันมีตัวแทนจำหน่าย คือ บริษัทเอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น จำกัด (มหาชน).

ทีไอจีเอและยามซากุระร่วงโรย · ทีไอจีเอและยามสายฝนโปรยปราย · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ยามซากุระร่วงโรยและโตเกียว · ยามสายฝนโปรยปรายและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย

ยามซากุระร่วงโรย มี 29 ความสัมพันธ์ขณะที่ ยามสายฝนโปรยปราย มี 12 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 7.32% = 3 / (29 + 12)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยามซากุระร่วงโรยและยามสายฝนโปรยปราย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »