โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย

ยัสเซอร์ อาราฟัต vs. โจราธิปไตย

ัสเซอร์ อาราฟัต (ياسر عرفات ยาซิร อะเราะฟาต; 24 สิงหาคม พ.ศ. 2472 — 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547) เป็นที่รู้จักในชื่อในการรบว่า อะบู อัมมาร์ (ابو عمّار) ชื่อจริงคือ โมฮัมหมัด อับดุล ราห์มาน อัลดุล ราอูฟ อาราฟัต อัล กุดวา (محمد عبد الرؤوف القدوة الحسيني) เป็นผู้นำชาวปาเลสไตน์ เป็นประธานองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ (PLO) ประธานองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ (PNA) และผู้นำฟะตะห์ (Fatah) พรรคการเมืองและอดีตกลุ่มกำลังกึ่งทหารที่เขาก่อตั้งขึ้นใน.. ราธิปไตย (cleptocracy, kleptarchy หรือ kleptocracy) หมายถึง รูปแบบการฉ้อราษฎร์บังหลวงที่การปกครองเป็นไปเพื่อทวีทรัพย์สินส่วนตัวและอำนาจทางการเมืองของพนักงานในรัฐบาลและของชนชั้นปกครอง โดยแสร้งว่า ปฏิบัติหน้าที่อย่างสุจริต และมักกระทำโดยยักยอกเงินหลวง โจราธิปไตยปรากฏมากในประเทศกำลังพัฒนา และมักสัมพันธ์กับการปกครองแบบนิยมอำนาจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การปกครองของคณะทหารผู้ยึดอำนาจ เผด็จการ คนกลุ่มน้อยในสังคม คนคนเดียวมีอำนาจเบ็ดเสร็จ และผู้เล่นพรรคเล่นพวก การปกครองเหล่านี้มีลักษณะเหมือนกัน คือ บุคคลภายนอกไม่อาจตรวจสอบได้ เพราะผู้ปกครองควบคุมทั้งการใช้จ่ายและวิธีกำหนดการใช้จ่ายเงินหลวง ผู้ปกครองแบบโจราธิปไตยมักปฏิบัติต่อคลังหลวงเสมือนเป็นบัญชีธนาคารของตนเอง หลายคนยังลักโอนเงินหลวงเข้าบัญชีตนเองในต่างแดน เผื่อว่าเมื่อตนพ้นจากอำนาจหรือจำเป็นต้องออกจากประเทศไปแล้ว จะได้มีเงินทองใช้สอยต่อไป.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย

ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย

ยัสเซอร์ อาราฟัต มี 52 ความสัมพันธ์ขณะที่ โจราธิปไตย มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (52 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยัสเซอร์ อาราฟัตและโจราธิปไตย หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »