เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
ขาออกขาเข้า
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

ยัน ฟัน โคเยิน

ดัชนี ยัน ฟัน โคเยิน

ัน โยเซฟส์โซน ฟัน โคเยิน (Jan Josephszoon van Goyen; 13 มกราคม ค.ศ. 1596 - 27 เมษายน ค.ศ. 1656) เป็นจิตรกรชาวดัตช์คนสำคัญของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ยัน ฟัน โคเยินมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมภูมิทัศน์ โดยมีผลงานเป็นจำนวนมาก เท่าที่ทราบเป็นจำนวนถึงราวพันสองร้อ.

สารบัญ

  1. 25 ความสัมพันธ์: พ.ศ. 2139พ.ศ. 2168พ.ศ. 2177พ.ศ. 2188พ.ศ. 2193พ.ศ. 2199กิลเดอร์ดัตช์ภาพชีวิตประจำวันภาพนิ่งภาพเหมือนยัน สเตนรอตเทอร์ดามลำดับคุณค่าของศิลปะจิตรกรรมจิตรกรรมบาโรกจิตรกรรมภูมิทัศน์จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์จิตรกรรมประวัติศาสตร์ประเทศเนเธอร์แลนด์ไลเดินเดลฟท์เดอะเฮกเคราร์ด เตอร์บอร์ค13 มกราคม27 เมษายน

  2. จิตรกรยุคทองของเนเธอร์แลนด์
  3. บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2139
  4. บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2199

พ.ศ. 2139

ทธศักราช 2139 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2139

พ.ศ. 2168

ทธศักราช 2168 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2168

พ.ศ. 2177

ทธศักราช 2177 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2177

พ.ศ. 2188

ทธศักราช 2188 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2188

พ.ศ. 2193

ทธศักราช 2193 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2193

พ.ศ. 2199

ทธศักราช 2199 ใกล้เคียงกั.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและพ.ศ. 2199

กิลเดอร์ดัตช์

กิลเดอร์ดัตช์ (Dutch guilder) หรือ คึลเดิน (gulden) ใช้สัญลักษณ์ ƒ หรือ fl.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและกิลเดอร์ดัตช์

ภาพชีวิตประจำวัน

“ชาวบ้านเต้นรำ” โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้พ่อ)ราว ค.ศ. 1568 ภาพชีวิตประจำวัน (ภาษาอังกฤษ: Genre works หรือ Genre scenes หรือ Genre views) เป็นภาพที่ใช้สื่อหลายอย่างเช่นจิตรกรรมหรือการถ่ายภาพในการแสดงฉากจากชีวิตประจำวันเช่น ฉากตลาด, ฉากภายในบ้าน, ฉากงานเลี้ยง หรือฉากถนนหนทาง การแสดงฉากก็อาจจะเหมือนจริง, เป็นการจินตนาการ หรือเป็นภาพแบบอุดมคติ สื่อที่เขียนก็เรียกว่า “จิตรกรรมชีวิตประจำวัน”, “ภาพพิมพ์ชีวิตประจำวัน” หรือ “ภาพถ่ายชีวิตประจำวัน” ซึ่งก็แล้วแต่สื่อ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและภาพชีวิตประจำวัน

ภาพนิ่ง

ใช้ปีคศ|width.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและภาพนิ่ง

ภาพเหมือน

หมือนเด็กชายชาวโรมัน-อียิปต์เป็นภาพเหมือนที่ใช้ปิดหน้าศพของผู้ตาย “ภาพเหมือนตนเอง” โดย ฟินเซนต์ ฟัน โคค ภาพถ่ายภาพเหมือนของทอมัส ดิลวาร์ด โดยแม็ทธิว เบรดี ภาพเหมือน (ภาษาอังกฤษ: portrait) เป็นจิตรกรรม, ภาพถ่าย, ประติมากรรม หรือสื่ออื่นๆ ที่เป็นรูปของผู้เป็นแบบ ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดจะเป็นหน้าและการแสดงออกทางความรู้สึกของผู้เป็นแบบ จุดประสงค์ในการสร้างภาพเหมือนก็เพื่อแสดงความละม้าย, บุคลิก, หรือแม้แต่อารมณ์ของผู้เป็นแบบ ฉะนั้นภาพถ่ายที่เป็นภาพเหมือนจึงมิใช่ภาพถ่ายแบบชั่ววินาที แต่เป็นภาพถ่ายที่ช่างถ่ายจะพยายามจัดท่าหรือองค์ประกอบของภาพที่ให้ผู้เป็นแบบนั่งนิ่ง ภาพเหมือนมักจะแสดงผู้เป็นแบบมองตรงมายังจิตรกรหรือช่างภาพ เพื่อแสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์โดยตรงกับผู้ที่ดูรูปในภายหลัง.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและภาพเหมือน

ยัน สเตน

ัน ฮาฟิกส์โซน สเตน (Jan Havickszoon Steen; ราว ค.ศ. 1626 - 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1679) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ในสมัยยุคทองของเนเธอร์แลนด์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวัน ที่เต็มไปด้วยชีวิตจิตใจและอารมณ์ขัน สเตนมีชื่อเรื่องการใช้สี.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและยัน สเตน

รอตเทอร์ดาม

รอตเทอร์ดาม สถานีรถและอาคารรูปลูกบาศก์ในเมืองรอตเทอร์ดาม ศูนย์กลางธุรกิจของเมืองรอตเทอร์ดาม รอตเทอร์ดาม (อังกฤษ, ดัตช์: Rotterdam) เป็นเมืองท่าหลัก และเมืองที่ใหญ่เป็นอันดับสองของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมาส (Maas River) รอตเทอร์ดามนับเป็นเมืองท่าใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และเป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอีราสมุส (Erasmus University Rotterdam) ซึ่งมีชื่อเสียงทางด้านเศรษฐศาสตร์ และสถาบันสถาปัตยกรรมแห่งเนเธอร์แลนด์ (Netherland Architecture institute - NAi) รอตเทอร์ดามมีลักษณะต่างจากเมืองอื่น ๆ ในเนเธอร์แลนด์คือเป็นเมืองที่มีสถาปัตยกรรมยุคใหม่ ในปี ค.ศ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและรอตเทอร์ดาม

ลำดับคุณค่าของศิลปะ

A จิตรกรรมประวัติศาสตร์. คริสเตียน อัลเบร็คท์ ฟอน เบนซอน (Christian Albrecht von Benzon), ''ความตายของคานูทผู้ศักดิ์สิทธิ์'', ค.ศ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและลำดับคุณค่าของศิลปะ

จิตรกรรม

มนาลิซา เป็นหนึ่งในภาพจิตรกรรมที่เป็นที่จดจำได้มากที่สุดในโลกตะวันตก โดย นายชัยยะนุช จิตรกรรม (painting) เป็นงานศิลปะที่แสดงออกด้วยการวาด ระบายสี และการจัดองค์ประกอบความงามอื่น เพื่อให้เกิดภาพ 2 มิติ ไม่มีความลึกหรือนูนหนา จิตรกรรมเป็นแขนงหนึ่งของทัศนศิลป์ ผู้ทำงานจิตรกรรม มักเรียกว่า จิตรกร จอห์น แคนาเดย์ (John Canaday) ได้ให้ความหมายของจิตรกรรมไว้ว่า จิตรกรรม คือ การระบายชั้นของสีลงบนพื้นระนาบรองรับ เป็นการจัดรวมกันของรูปทรง และ สีที่เกิดขึ้นจากการเตรียมการของศิลปินแต่ละคนในการเขียนภาพนั้น พจนานุกรมศัพท์ อธิบายว่า เป็นการสร้างงานทัศนศิลป์บนพื้นระนาบรองรับ ด้วยการ ลาก ป้าย ขีด ขูด วัสดุ จิตรกรรมลงบนพื้นระนาบรองรับ ภาพจิตรกรรมที่เก่าแก่ที่สุดที่เป็นที่รู้จักอยู่ที่ถ้ำ Chauvet ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งนักประวัติศาสตร์บางคนอ้างว่ามีอายุราว 32,000 ปีเป็นภาพที่สลักและระบายสีด้วยโคลนแดงและสีย้อมดำ แสดงรูปม้า แรด สิงโต ควาย แมมมอธ หรือมนุษย์ ซึ่งมักจะกำลังล่าสัตว.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและจิตรกรรม

จิตรกรรมบาโรก

“ยาม” โดย แรมบรังด์ ราว ค.ศ. 1642 เป็นตัวอย่างที่ดีของจิตรกรรมแบบบาโรก จิตรกรรมบาโรก (Baroque painting) เป็นจิตรกรรมที่เกี่ยวข้องกับขบวนการศิลปะบาโรก ซึ่งเป็นขบวนการที่เกี่ยวข้องกับระบบสัมบูรณนิยมทางการเมือง (absolutism), การปฏิรูปศาสนาซ้อน (Counter Reformation) และการฟื้นฟูโรมันคาทอลิก, from Encyclopædia Britannica Online, latest edition, full-article.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและจิตรกรรมบาโรก

จิตรกรรมภูมิทัศน์

“เดินเล่นในฤดูใบไม้ผลิ” (Strolling About in Spring) ราว ค.ศ. 600 คนเกี่ยวข้าว” (The Harvesters) โดย ปิเอเตอร์ บรูเกล ค.ศ. 1565 “ร้อนผิดฤดูที่เวอร์มอนท์” (Indian Summer) โดยวิลลาร์ด ลีรอย เมทคาลฟ ซึ่งเป็นภาพเขียนนอกสถานที่ จิตรกรรมภูมิทัศน์ (ภาษาอังกฤษ: Landscape art) เป็นจิตรกรรม ที่แสดงทิวทัศน์เช่นภูเขา, หุบเขา, ต้นไม้, แม่น้ำ, และป่า และมักจะรวมท้องฟ้า นอกจากนั้นสภาวะอากาศก็อาจจะมีส่วนสำคัญในการวางองค์ประกอบของภาพด้วย ในคริสต์ศตวรรษที่ 1 ชาวโรมันตกแต่งห้องด้วยจิตรกรรมฝาผนังที่เป็นภาพภูมิทัศน์ซึ่งพบที่ปอมเปอีและเฮอร์คิวเลเนียม คำว่า “landscape” มาจากภาษาดัทช์ landscape “landschap” ซึ่งหมายถึงบริเวณที่เก็บเกี่ยวแล้ว และนำเข้ามาใช้ในภาษาอังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เมื่อต้น คริสต์ศตวรรษที่ 15 การเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะการเขียนแบบหนึ่งในยุโรป ซึ่งใช้เป็นฉากหลังของกิจการต่างๆ ส่วนใหญ่จะเป็นศิลปะคริสต์ศาสนา เช่น ภาพในหัวเรื่อง “พระเยซูหนีไปอียิปต์”, หรือฉากการเดินทางของแมไจเพื่อนำของขวัญมาให้พระเยซู หรือ ภาพเขียนเกี่ยวกับนักบุญเจอโรมเมื่อไปจำศีลอยู่ในทะเลทราย การเขียนภาพภูมิทัศน์ของจีนจะเป็นภูมิทัศน์ล้วนๆ ถ้ามีคนอยู่ในรูปก็จะเป็นส่วนประกอบที่ไม่สำคัญหรือเพียงเป็นสิ่งเทียบถึงขนาดของธรรมชาติ และเป็นการเชิญชวนให้ผู้ชมภาพมีความรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในภาพเขียน การเขียนภาพลักษณะนี้มีลักษณะสมบูรณ์แบบมาตั้งแต่การเขียนภาพด้วยหมึก ในยุโรปจอห์น รัสคิน และ เซอร์เค็นเน็ธ คลาคกล่าวว่าการเขียนภาพภูมิทัศน์เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้คนเกิดความซาบซึ้งในความสวยงามของธรรมชาติ คลาคกล่าวว่าในการเขียนภาพภูมิทัศน์ตั้งอยู่บนพื้นฐานสี่อย่าง: การยอมรับในสัญลักษณ์ที่เห็น, ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับธรรมชาติ, การสร้างจินตนิยมที่มึพี้นฐานมาจากความกลัวธรรมชาติ และ ความเชื่อที่ว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะลงเอยด้วยดีที่เป็นสิ่งที่สามารถทำให้เกิดขึ้นได้ ในสหรัฐอเมริกาช่างเขียนภาพสกุลศิลปะลุ่มแม่น้ำฮัดสันที่รุ่งเรื่องราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีชื่อเสียงในการวิวัฒนาการเขียนภาพภูมิทัศน์ นักเขียนภาพกลุ่มนี้สร้างภาพเขียนขนาดยักษ์เพื่อจะสามารถพยายามแสดงความยิ่งใหญ่ของภูมิทัศน์ตามที่เห็น ปรัชญาของงานของทอมัส โคลซึ่งถือกันว่าเป็นผู้ก่อตั้งตระกูลการเขียนนี้ก็เช่นเดียวกับปรัชญาการเขียนภาพภูมิทัศน์ในยุโรป — เป็นความศรัทธาของมนุษย์ที่ทำให้มีความรู้สึกดีขึ้นจากการซาบซึ้งในคุณค่าของความสวยงามและความมหัศจรรย์ของธรรมชาติ งานของศิลปินตระกูลแม่น้ำฮัดสันรุ่นหลังเช่นงานของ แอลเบิร์ต เบียร์สตัดท์จะสร้างงานที่สร้างความน่ากลัวขึ้นโดยการเน้นอำนาจของธรรมชาติ นักสำรวจ, นักธรรมชาติวิทยา, ชาวทะเล, พ่อค้า, หรือผู้ตั้งถิ่นฐานที่มาถึงแผ่นดินแคนาดาเมื่อสมัยแรกๆ ในการสำรวจต้องเผชิญกับธรรมชาติที่ค่อนข้างจะอันตรายจากทะเล นักสำรวจเหล่านี้พยายามปรับปรุงสถานการณ์โดยการทำแผนที่, บันทึก, และตั้งหลักแหล่ง ความเข้าใจธรรมชาติจากการสังเกตของแต่ละคนก็ต่างกันไป บันทึกจากความรู้สึกเหล่านี้มีตั้งแต่ถูกต้องตามความเป็นจริงไปจนการจินตนาการที่เกินความจริงเอามากๆ และการสังเกตเหล่านี้ก็ถูกบันทึกในรูปของภาพภูมิทัศน์ ภาพเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีของการเขียนภาพภูมิทัศน์คานาดาคือภาพจากจิตรกรใน “กลุ่มเจ็ดคน” (Group of Seven) ที่มีชื่อเสียงในคริสต์ทศศตวรรษ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและจิตรกรรมภูมิทัศน์

จิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

ตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์ (Dutch Golden Age painting) คือช่วงระยะหนึ่งของประวัติศาสตร์จิตรกรรมของเนเธอร์แลนด์ที่เกิดขึ้นตั้งแต่ราว ค.ศ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและจิตรกรรมยุคทองของเนเธอร์แลนด์

จิตรกรรมประวัติศาสตร์

“วันสุดท้ายของปอมเปอี” (ค.ศ. 1833) เป็นตัวอย่างที่ดีของภาพเขียนประวัติศาสตร์ จิตรกรรมประวัติศาสตร์ (History painting) เริ่มเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ค.ศ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและจิตรกรรมประวัติศาสตร์

ประเทศเนเธอร์แลนด์

นเธอร์แลนด์ (Nederland เนเดอร์ลอนต์; Netherlands) หรือที่มักเรียกกันว่า ฮอลแลนด์ (Holland) หรือ ฮอลันดา หรือ วิลันดา เป็นประเทศองค์ประกอบ (constituent country) ของราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ประกอบด้วยสิบสองจังหวัดในยุโรปตะวันตก และสามเกาะในแคริบเบียน เนเธอร์แลนด์ส่วนที่อยู่ในทวีปยุโรปมีอาณาเขตทิศเหนือและตะวันตกจดทะเลเหนือ ทิศใต้จดประเทศเบลเยียม และทิศตะวันออกจดประเทศเยอรมนี และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับเบลเยียม เยอรมนีและสหราชอาณาจักร ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศแรก ๆ ของโลกที่มีรัฐสภาจากการเลือกตั้ง และปกครองด้วยประชาธิปไตยระบบรัฐสภา จัดระเบียบเป็นรัฐเดี่ยว เมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ คือ อัมสเตอร์ดัม ทว่า ที่ทำการรัฐบาลตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ทั้งหมดมักเรียกว่า "ฮอลแลนด์" ซึ่งในการใช้อย่างเข้มงวดจะหมายความถึงจังหวัดนอร์ทฮอลแลนด์และเซาท์ฮอลแลนด์เท่านั้น ถือกันว่าการใช้แบบแรกนั้นไม่ถูกต้อง หรือไม่เป็นทางการ ขึ้นอยู่กับบริบท ทว่า เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปเมื่อหมายถึงฟุตบอลทีมชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นประเทศที่มีพื้นที่ต่ำ โดย 20% ของพื้นที่อยู่ และ 21% ของประชากรอาศัยอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล และ 50% ของพื้นที่อยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลไม่เกินหนึ่งเมตร ซึ่งลักษณะเด่นนี้เป็นที่มาของชื่อประเทศ ในภาษาดัตช์ อังกฤษและภาษาอื่นของยุโรปอีกหลายภาษา ชื่อประเทศหมายถึง "แผ่นดินต่ำ" หรือ "กลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ" พื้นที่ส่วนใหญ่ที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเลเกิดจากฝีมือมนุษย์ ซึ่งเกิดจากการสกัดพีต (peat) อย่างกว้างขวางและมีการควบคุมไม่ดีหลายศตวรรษทำให้พื้นผิวต่ำลงหลายเมตร แม้ในพื้นที่น้ำท่วมถึง การสกัดพีตยังดำเนินต่อไปโดยการขุดลอกพื้นที่ ตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เริ่มมีการฟื้นสภาพที่ดินและปัจจุบันมีการสงวนพื้นที่โพลเดอร์ (polder) ขนาดใหญ่ด้วยระบบการระบายน้ำที่ซับซ้อนซึ่งมีทั้งพนัง คลองและสถานีสูบ พื้นที่เกือบ 17% ของประเทศเป็นพื้นที่ที่เกิดจากการถมทะเล พื้นที่บริเวณกว้างของเนเธอร์แลนด์เกิดจากชะวากทะเลของแม่น้ำสำคัญของทวีปยุโรปสามสายและลำน้ำแตกสาขาเกิดเป็นสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไรน์–เมิซ–ซเกลดะ (Rhine–Meuse–Scheldt delta) พื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศเป็นที่ราบ ยกเว้นเนินเขาทางตะวันออกเฉียงใต้และเทือกเขาเตี้ย ๆ หลายเทือกทางตอนกลาง ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นสมาชิกก่อตั้งของสหภาพยุโรป จี-10 นาโต้ องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) องค์การการค้าโลก และเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพเศรษฐกิจไตรภาคีเบเนลักซ์ ประเทศเนเธอร์แลนด์เป็นที่ตั้งขององค์การห้ามอาวุธเคมี และศาลระหว่างประเทศห้าศาล ได้แก่ ศาลอนุญาโตตุลาการถาวร ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ศาลอาญาระหว่างประเทศ คณะตุลาการอาญาระหว่างประเทศสำหรับอดีตยูโกสลาเวียและคณะตุลาการพิเศษสำหรับเลบานอน สี่ศาลแรกตั้งอยู่ในกรุงเฮก เช่นเดียวกับยูโรโปล สำนักข่าวกรองอาชญากรรมของสหภาพยุโรป และยูโรจัสต์ สำนักความร่วมมือทางตุลาการ ทำให้กรุงเฮกได้รับสมญาว่า "เมืองหลวงกฎหมายโลก" ประเทศเนเธอร์แลนด์ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมอิงตลาด โดยอยู่ในอันดับที่ 17 จาก 177 ประเทศในดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจ ในปี 2554 เป็นประเทศที่มีรายได้ต่อหัวสูงสุดเป็นอันดับที่ 10 ของโลก ในเดือนพฤษภาคม ปีเดียวกัน OECD จัดให้เนเธอร์แลนด์เป็นประเทศ "ที่มีความสุขที่สุด" ในโลก ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการครองชีพที่สูง.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและประเทศเนเธอร์แลนด์

ไลเดิน

ลเดิน (Leiden) เป็นเมืองในจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ไลเดินรวมเป็นเขตเมืองเขตเดียวกับ Oegstgeest, Leiderdorp, Voorschoten, Valkenburg, Rijnsburg และ Katwijk ที่ทำให้มีประชากรทั้งหมด 254,000 คน.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและไลเดิน

เดลฟท์

ลฟท์ (Delft) เป็นเมืองในจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ (Zuid-Holland) ในประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ตั้งอยู่ระหว่างร็อตเตอร์ดัม และ เฮก เดลฟท์มีชื่อเสียงเช่นเดียวกับเมืองดัตช์อื่นๆ ที่เป็นเมืองที่มีศูนย์กลางเป็นคลอง และเป็นเมืองของโยฮันส์ เวร์เมร์, เครื่องกระเบื้องเดลฟท์ (Delftware), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งเดลฟท์ และความเกี่ยวดองกับราชวงศ์ออเรนจ์-นาซอ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและเดลฟท์

เดอะเฮก

อะเฮก หรือ กรุงเฮก (The Hague, Den Haag แด็นฮาค) หรือชื่อทางการภาษาดัตช์คือ สคราเฟินฮาเคอ ('s-Gravenhage) เป็นเมืองหลวงของจังหวัดเซาท์ฮอลแลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ เมืองมีประชากร 500,000 คน (ข้อมูลเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและเดอะเฮก

เคราร์ด เตอร์บอร์ค

ราร์ด เตอร์บอร์ค (Gerard ter Borch) หรือ เคราร์ด เตอร์บืร์ค (Gerard Terburg; ธันวาคม ค.ศ. 1617 - 8 ธันวาคม ค.ศ. 1681) เป็นจิตรกรชาวดัตช์ของยุคทองของเนเธอร์แลนด์ของคริสต์ศตวรรษที่ 17 เตอร์บอร์คได้รับการฝึกหัดการเขียนเป็นอย่างดีจากบิดาและมีพรสวรรค์ในการเขียนภาพตั้งแต่ยังอายุไม่มาก เตอร์บอร์คมีความเชี่ยวชาญทางการเขียนภาพชีวิตประจำวันและภาพเหมือน.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและเคราร์ด เตอร์บอร์ค

13 มกราคม

วันที่ 13 มกราคม เป็นวันที่ 13 ของปี ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 352 วันในปีนั้น (353 วันในปีอธิกสุรทิน).

ดู ยัน ฟัน โคเยินและ13 มกราคม

27 เมษายน

วันที่ 27 เมษายน เป็นวันที่ 117 ของปี (วันที่ 118 ในปีอธิกสุรทิน) ตามปฏิทินสุริยคติแบบเกรกอเรียน เมื่อถึงวันนี้จะยังเหลือวันอีก 248 วันในปีนั้น.

ดู ยัน ฟัน โคเยินและ27 เมษายน

ดูเพิ่มเติม

จิตรกรยุคทองของเนเธอร์แลนด์

บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2139

บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2199

หรือที่รู้จักกันในชื่อ Jan Josefsz van GoyenJan van Goyenยาน ฟาน โกเยน