โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ติดตั้ง
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะ vs. โตเกียว

มะโมะโตะ ยะเอะโกะ (1 ธันวาคม ค.ศ. 1845 - 14 มิถุนายน ค.ศ. 1932) หรือ นิอิจิมะ ยะเอะ เป็นสตรีที่มีช่วงชีวิตอยู่ในปลายยุคเอะโดะ หรือ บะกุมะสึ จนถึงยุคเมจิ ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะ เกิดเมื่อค.ศ. 1845 ที่แคว้นไอซุ จังหวัดฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน เป็นธิดาของซะมุไรยะมะโมะโตะ คมปะชิ ผู้มีอาชีพเป็นครูสอนการยิงปืนอยู่ในแคว้นไอซุ ตระกูลยะมะโมะโตะนี้อ้างการสืบเชื้อสายจากยะมะโมะโตะ คันซุเกะ ทหารเอกคนสนิทของทะเกะดะ ชิงเง็น นางยะเอะโกะมีพี่ชายคือ ยะมะโมะโตะ คะกุมะ ในช่วงวัยเยาว์นางยะเอะมีความสนใจในการใช้อาวุธปืนซึ่งผิดแปลกไปจากสตรีในยุคสมัยเดียวกัน ต่อมาคะกุมะผู้เป็นพี่ชายเดินทางไปศึกษาวิทยาการตะวันตกที่เมืองเอะโดะ ได้แนะนำให้นางยะเอะรู้จักกับคะวะซะกิ โชโนะซุเกะ ซึ่งนางยะเอะได้สมรสกับนายโชโนะซุเกะเมื่อค.ศ. 1865 ในช่วงสงครามโบะชิง (Boshin War) หลังจากที่เข้ายึดนครเอะโดะได้แล้ว ทัพฝ่ายพระจักรพรรดิได้รุกคืบขึ้นมาทางเหนือ เข้าโจมตีเมืองไอซุอันเป็นฐานที่มั่นสำคัญของฝ่ายสนับสนุนโชกุน เกิดเป็นยุทธการไอซุ (Battle of Aizu) ขึ้นในค.ศ. 1868 นางยะเอะได้ตัดสินใจปลงผมแต่งตัวเป็นชายถือปืนเข้าร่วมรบในการปกป้องปราสาทไอซุวะกะมะซึ (Aizuwakamatsu Castle) ในยุทธการครั้งนี้เมืองไอซุถูกทัพฝ่ายพระจักรพรรดิเข้ายึดครองในที่สุด คมปะชิบิดาของนางยะเอะเสียชีวิตในที่รบ และนายโชโนะซุเกะผู้เป็นสามีถูกจับเป็นเชลยศึก หลังจากสงครามแล้วนางยะเอะได้เดินทางไปยังเมืองเกียวโต เพื่อเยี่ยมและดูแลพี่ชายนายคะกุมะซึ่งถูกกุมตัวในฐานะเชลยศึกอยู่ นางยะเอะได้พบกับนายโจเซฟ ฮาร์ดี นีซีมา (Joseph Hardy Neesima) หรือ นิอิจิมะ โจ มิชชันนารีชาวญี่ปุ่น นางยะเอะเข้ารีตคริสต์ศาสนาและสมรสใหม่กับนายนิอิจิมะเมื่อค.ศ. 1876 นางยะเอะได้ร่วมกับนายนิอิจิมะผู้เป็นสามีในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยโดชิชะ (Dōshisha University) นายนิอิจิมะผู้เป็นสามีคนที่สองเสียชีวิตลงเมื่อค.ศ. 1890 หลังจากนั้นนางยะเอะได้ผันตนเองมาสู้ด้านการพยาบาลและเข้าทำงานในสภากาชาดญี่ปุ่น (Japanese Red Cross) ในช่วงสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง (First Sino-Japanese War) นางยะเอะได้เข้าทำงานที่เมืองฮิโระชิมะในฐานะนางพยาบาลช่วยเหลือทหารญี่ปุ่นที่ได้รับบาดเจ็บในสงคราม ด้วยคุณงามความชอบทำให้นางยะเอะได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์รัตนมงกุฎ (Order of the Precious Crown) จากสมเด็จพระจักรพรรดิเมจิเมื่อค.ศ. 1896 ในค.ศ. 1904 นางยะเอะได้เข้าช่วยเหลือทหารบาดเจ็บอีกครั้งในสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น นางยะเอะถึงแก่กรรมในปีค.ศ. 1932 ด้วยอายุ 86 ปี ที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น. ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว มี 4 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ยุคเมจิยุคเอะโดะจักรพรรดิเมจิโตเกียว

ยุคเมจิ

มจิ เป็นยุคสมัยของญี่ปุ่นระหว่าง ค.ศ. 1868 - ค.ศ. 1912 ซึ่งถือว่าเป็นการเข้าสู่ ยุคใหม่ (Modern Era) ของญี่ปุ่น ยุคเมจิเริ่มต้นหลังจากที่กลุ่มหัวก้าวหน้าในแคว้นโชชูและแคว้นซะสึมะ ผนึกกำลังกันล้มล้างระบอบโชกุนและระบบซะมุไร หลังจากล้มระบอบโชกุนได้แล้ว ก็สถาปนารัฐธรรมนูญและรัฐบาลใหม่ที่มีองค์จักรพรรดิเป็นศูนย์กลางแห่งอำนาจ จักรพรรดิทรงย้ายเมืองหลวงจากเคียวโตะไปยังเอโดะ แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นโตเกียว คณะรัฐบาลในสมเด็จพระจักรพรรดิได้ร่วมมือกันปฏิรูปญี่ปุ่นในทุกๆด้าน มีการทำสงครามกับจักรวรรดิรัสเซียและมีชัยเหนือรัสเซียซึ่งเป็นหนึ่งในมหาอำนาจในขณะนั้น รัฐบาลใหม่ได้ยกเลิกระบอบศักดินาสวามิภักดิ์และมีการรวมศูนย์อำนาจไว้ในกรุงโตเกียว มีการสถาปนาสภานิติบัญญัติในสมเด็จพระจักรพรรดิขึ้นมาตามแบบอย่างของรัฐสภาอังกฤษ อันประกอบด้วยสภาขุนนาง (สภาสูง) และสภาผู้แทนราษฎร (สภาล่าง) อย่างไรก็ตาม แม้จะมีการเลือกตั้ง แต่ก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นระบอบประชาธิปไตยได้ เนื่องจากอำนาจและอิทธิพลทางการเมืองส่วนใหญ่อยู่ที่เหล่าขุนนางในสภาสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะเก็นโรเป็นกลุ่มบุคคลที่มีอิทธิพลที่สุดในระบบการเมือง มีการประกาศยกเลิกการครอบครองที่ดินในระบบศักดินานำที่ดินแจกจ่ายให้ชาวไร่ชาวนาทรงสร้างระบบการคมนาคมทั้งถนน ทางรถไฟ ระบบขนส่งทางทะเล เพื่อเสริมสร้างการค้าภายในและภายนอก ปรับปรุงระบบไปรษณีย์ การเงินและธนาคาร และวางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม โดยรัฐบาลเข้ามาลงทุนอุตสาหกรรมหลัก เช่น อุตสาหกรรมเหล็ก อุตสาหกรรมเหล็กกล้า และสนับสนุนเอกชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาอุตสาหกรรม ใน..

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและยุคเมจิ · ยุคเมจิและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

ยุคเอะโดะ

อะโดะ หรือยุคที่เรียกว่า ยุคโทะกุงะวะ (徳川時代 Tokugawa-jidai) ค.ศ. 1603 - ค.ศ. 1868 คือยุคที่มีไดเมียวตระกูลโทะกุงะวะเป็นโชกุน เริ่มเมื่อโทะกุงะวะ อิเอะยะซุ ได้รวบอำนาจและตั้งรัฐบาลโชกุนขึ้นที่เอโดะ (ปัจจุบันคือโตเกียว) ใน..

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและยุคเอะโดะ · ยุคเอะโดะและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

จักรพรรดิเมจิ

มเด็จพระจักรพรรดิมุสึฮิโตะ (3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1853 — 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1912) พระนามตามรัชสมัยคือ จักรพรรดิเมจิ ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศญี่ปุ่น ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระอง.

จักรพรรดิเมจิและยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะ · จักรพรรดิเมจิและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

โตเกียว

ตเกียว หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่ามหานครโตเกียว (Tokyo Metropolis) หรือเรียกเอะโดะหรือเอโดะ เป็นเมืองหลวงของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการปกครองแบบพิเศษซึ่งรวมการปกครองในรูปแบบจังหวัดและเมืองไว้ด้วยกัน ทั้งนี้ เขตอภิมหานครโตเกียวจัดว่าเป็นเขตเมืองที่ใหญ่ที่สุดในโลก โดยรวมเขตปริมณฑลแล้วมีประชากรอาศัยอยู่ราว 35,237,000 คน) เฉพาะในตัวเมืองโตเกียว 23 แขวงการปกครองพิเศษ มีประชากรในเขตเมืองประมาณ 12 ล้านคน ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในโลกเมืองหนึ่ง ประชากรทั้งหมดของโตเกียวมีทั้งหมดกว่า 35 ล้านคน โตเกียวตั้งอยู่บริเวณภูมิภาคคันโตของญี่ปุ่น คำว่า "โตเกียว" หมายถึง "นครหลวงตะวันออก" ในโตเกียวยังเป็นที่ตั้งของพระราชวังหลวงของสมเด็จพระจักรพรรดิ กรุงโตเกียวเคยเป็นเจ้าภาพการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี 1964 และจะเป็นเจ้าภาพครั้งที่ 2 ในปี 2020 ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2563.

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว · โตเกียวและโตเกียว · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว

ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะ มี 27 ความสัมพันธ์ขณะที่ โตเกียว มี 153 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 4, ดัชนี Jaccard คือ 2.22% = 4 / (27 + 153)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ยะมะโมะโตะ ยะเอะโกะและโตเกียว หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »