โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดี vs. วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดี (James Randi Educational Foundation ตัวย่อ JREF) เป็นองค์การไม่แสวงหาผลกำไรที่ตั้งขึ้นในปี.. วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ (Scientific skepticism, Scientific scepticism) เป็นหลักปฏิบัติในการที่จะสืบหาว่า เรื่องที่อ้างว่าเป็นจริงนั้นมีหลักฐานโดยงานวิจัยเชิงประสบการณ์ (เชิงประจักษ์) หรือไม่ สามารถทำซ้ำได้หรือไม่ เป็นหลักปฏิบัติที่ใช้เป็นปกติในการ "เพิ่มขยายความรู้ที่ยืนยันได้พิสูจน์ได้" ยกตัวอย่างเช่น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ มี 3 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): การคิดวิเคราะห์รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบเหนือธรรมชาติ

การคิดวิเคราะห์

ประติมากรรม "The Thinker" (พ.ศ. 2422-2432) โดยออกัสต์ โรแดง ประติมากรชาวฝรั่งเศส (พ.ศ. 2383 - 2460) ที่มีการจำลองไปตั้งตามมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษา-วิจัยสำคัญรวมทั้งพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ เกือบทุกทวีปทั่วโลกไม่น้อยกว่า 30 แห่ง การคิดวิเคราะห์, การคิดเชิงวิพากษ์ หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (critical thinking) เป็นกระบวนการทางจิตสำนึกเพื่อวิเคราะห์ หรือ ประเมินข้อมูล ในคำแถลง หรือ ข้อเสนอที่มีผู้แถลงหรืออ้างว่าเป็นความจริง การคิดวิเคราะห์เป็นรูปแบบของกระบวนการที่สะท้อนให้เห็นความหมายของคำแถลง (statement) และการตรวจสอบหลักฐานที่ได้รับการไต่ตรองด้วยเหตุและผล แล้วจึงทำการตัดสินคำแถลงหรือข้อเสนอที่ถูกอ้างว่าเป็นความจริงนั้น การคิดวิเคราะห์อาจทำได้จากการรวบรวมข้อมูล การสังเกตการณ์ ประสบการณ์ หลักแห่งเหตุและผล หรือการสื่อความ การคิดวิเคราะห์ต้องมีพื้นฐานของคุณค่าเชิงพุทธิปัญญาที่สูงเลยไปจากการเป็นเพียงการแบ่งเนื้อหาที่รวมไปถึง ความกระจ่างชัด ความแม่นยำ ความต้องตรงเนื้อหา หลักฐาน ความครบถ้วนและความยุติธรรม ความหมายหรือนิยามการคิดวิเคราะห์มีมากมายและหลากหลาย แต่ส่วนใหญ่ไปในแนวเดียวกันคือการใช้เหตุผล หลักฐานและตรรกะมาวิเคราะห์ให้แน่ชัดก่อนลงความเห็นหรือตัดสิน พระพุทธเจ้าได้ใช้วิธีการสอนที่อาจนับเป็นการคิดวิเคราะห์ที่เรียกว่า "ปุจฉาวิสัชนา" ด้วยการให้พระสงฆ์ใช้ "วิจารณญาน" ถามตอบซักไซ้ไล่เลียงค้านกันไปมาจนได้คำตอบซึ่งอาจถือได้ว่าเป็นการคิดวิเคราะห์ โดยทรงให้หลักแห่งความเชื่อที่ไม่งมงายไว้ในพระสูตรชื่อ กาลามสูตร.

การคิดวิเคราะห์และมูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดี · การคิดวิเคราะห์และวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ

รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ (portable document format (ย่อ: pdf)) คือ รูปแบบแฟ้มลักษณะหนึ่ง ที่พัฒนาโดยบริษัทอะโดบีซิสเต็มส์ สำหรับแสดงเอกสารที่สามารถใช้งานได้ในทุกระบบปฏิบัติการ และยังคงลักษณะเอกสารเหมือนต้นฉบับ เอกสารในรูปแบบนี้สามารถจัดเก็บ ตัวอักษร รูปภาพ รูปลายเส้น ในลักษณะเป็นหน้าหนังสือ ตั้งแต่ หนึ่งหน้า หรือหลายพันหน้าได้ในแฟ้มเดียวกัน รูปแบบเป็นมาตรฐานที่เปิดให้คนอื่นสามารถเขียนโปรแกรมมาทำงานร่วมกันได้ รูปแบบนี้ เหมาะสมสำหรับงานที่ต้องการให้แสดงผลลักษณะเดียวกับต้นฉบับ ซึ่งแตกต่างกับการใช้งานรูปแบบอื่น เช่น HTML เพราะการแสดงผลของ HTML จะขึ้นอยู่กับโปรแกรมเบราว์เซอร์และคอมพิวเตอร์ที่ใช้ และเพราะฉะนั้น จะแสดงผลต่างกัน ถ้าใช้ต่างกัน.

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและรูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบ · รูปแบบเอกสารใช้ได้หลายระบบและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ · ดูเพิ่มเติม »

เหนือธรรมชาติ

เหนือธรรมชาติ (supernatural) คือ สิ่งที่ไม่อยู่ภายใต้กฎธรรมชาติ หรือเป็นการอุปมาถึงสิ่งที่มีอยู่เหนือและพ้นธรรมชาติ ในวัฒนธรรมสมัยนิยมและบันเทิงคดี เหนือธรรมชาติเกี่ยวข้องอย่างประหลาดกับเหนือธรรมดาและรหัสญาณ ซึ่งต่างจากมโนทัศน์เดิมในบางศาสนา เช่น คาทอลิก ที่เชื่อว่าปาฏิหารย์จากพระเจ้าถูกมองว่าเหนือธรรมชาติ หมวดหมู่:อำนาจปรัมปราวิทยา.

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและเหนือธรรมชาติ · วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์และเหนือธรรมชาติ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์

มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดี มี 12 ความสัมพันธ์ขณะที่ วิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ มี 38 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 3, ดัชนี Jaccard คือ 6.00% = 3 / (12 + 38)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มูลนิธิการศึกษาเจมส์แรนดีและวิมตินิยมทางวิทยาศาสตร์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »