โลโก้
ยูเนี่ยนพีเดีย
การสื่อสาร
ดาวน์โหลดได้จาก Google Play
ใหม่! ดาวน์โหลด ยูเนี่ยนพีเดีย บน Android ™ของคุณ!
ฟรี
เร็วกว่าเบราว์เซอร์!
 

มีมางสาและไวเศษิกะ

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มีมางสาและไวเศษิกะ

มีมางสา vs. ไวเศษิกะ

ลัทธิมีมางสา (Mīmāṃsā; ภาษาสันสกฤต: मीमांसा) เป็นปรัชญาในศาสนาฮินดู คำว่ามีมางสาหมายถึงการสอบสวนซึ่งปรัชญานี้มาจากการสอบสวนเกี่ยวกับพระเวทโดยเน้นส่วนที่เป็นมันตระและพราหมณะของพระเวท ลัทธินี้เริ่มต้นโดยไชมิณิ ซึ่งเป็นผู้แต่งคัมภีร์มีมางสาสูตร ต่อมา ประภากระและกุมาริละ ภัฏฏะ ได้นำมาพัฒนาต่อจนแตกเป็นสองสำนัก ปรัชญามีมางสาเป็นพหุสัจจนิยม ถือว่าความจริงแท้มีทากมาย คัมภีร์พระเวทเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ จึงเป็นสิ่งที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุด สิ่งที่พระเวทบอกว่าควรถือเป็นธรรม สิ่งที่พระเวทบอกว่าไม่ควร ถือเป็นอธรรม ธรรมจะนำมาซึ่งความสุข มี 4 ระดับคือ เกิดจากทรัพย์สิน เกิดจากการบำรุงกามคุณทั้งห้า ความสงบใจ และการหลุดพ้นไปจากอำนาจของกิเลส ปรัชญานี้ถือว่าชีวาตมันหรืออัตตาเป็นอมตะ และมีจำนวนมากเป็นอนันตะ หรือนับไม่ถ้วน ร่างกายเป็นพาหนะของชีวาตมัน โลกและสิ่งต่างๆในโลกเกิดจากปัจจัยตามธรรมชาติไม่ใช่การสร้างของพระเจ้า โลกจะดำรงอยู่ตลอดไป โดยไม่มีพระเจ้ามาทำลายได้. วเศษิกะ (Vaisheshika; वैशेषिक) เป็นปรัชญาหนึ่งในศาสนาฮินดู เกิดขึ้นหลังพุทธกาล ผู้สถาปนาลัทธินี้คือฤๅษีกรณาทะ ผู้แต่งไวเศษิกสูตร คำนี้มาจากภาษาสันสกฤตหมายถึงความแตกต่างหรือคุณลักษณะเฉพาะ เป็นแนวคิดแบบพหุสัจนิยม เชื่อว่าส่วนที่เล็กที่สุดของสสารคือปรมาณูมีจำนวนมาก แบ่งแยกไม่ได้และเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของโลก พระเจ้าสูงสุดคือพระมเหศวรเป็นผู้สร้างโลก โดยเจตจำนงของพระองค์ จะกระตุ้นให้ปรมาณูมารวมตัวกัน จนเกิดเป็นสิ่งต่างๆและเป็นโลกในที่สุด เมื่อพระมเหศวรมีเจตจำนงที่จะทำลายโลก ปรมาณูแยกตัวออก โลกก็จะสลายไป เป้าหมายในการดำรงชีวิตคือโมกษะ ซึ่งเป็นภูมิของผู้ไม่มีกิเลส เมื่อชีวาตมันหลุดพ้นจากกิเลส ก็เข้าถึงโมกษะ โดยทั่วไป ลัทธินี้มีแนวคิดคล้ายลัทธินยายะ ต่างกันที่รายละเอียด เช่น แหล่งความรู้ นยายะมี 4 แหล่ง ไวเศษิกะมี 2 แหล่ง ความรู้ประเภทประจักษ์ประมาณ นยายะถือว่าเกิดจากประสาทสัมผัสทั้งห้า แต่ไวเศษิกะถือว่าเกิดจากตาเท่านั้น เป็นต้น.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มีมางสาและไวเศษิกะ

มีมางสาและไวเศษิกะ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): กิเลสศาสนาฮินดู

กิเลส

กิเลส (กิเลส; क्लेश เกฺลศ) หมายถึง สภาพที่ทำให้จิตเศร้าหมอง.

กิเลสและมีมางสา · กิเลสและไวเศษิกะ · ดูเพิ่มเติม »

ศาสนาฮินดู

ัญลักษณ์ “โอม” สัญลักษณ์ของศาสนาฮินดู หมายถึงพระตรีมูรติ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ทั้ง 3 ศาสนาฮินดู (Hinduism) หรือ สนาตนธรรม เป็นศาสนาแบบพหุเทวนิยมที่พัฒนาการต่อมาจากศาสนาพราหมณ์ จึงมักเรียกรวมกันว่าศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าใครเป็นศาสดา มีพระเวทเป็นคัมภีร์หลัก มีศาสนิกชนมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก มีจำนวนประมาณ 900 ล้านคน ศาสนานี้นับถือเทพเจ้าหลายองค์ เรียกว่า "พหุเทวนิยม" เทพเจ้าแต่ละองค์ในแต่ละยุคสมัย มีบทบาท และตำนานต่างกันไป ในแต่ละท้องถิ่นยังมีความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าองค์หนึ่งๆ แตกต่างกันไปด้วย โดยทั่วไปถือว่าชาวฮินดูเชื่อว่ามีเทพเจ้าสูงสุด ที่ได้อวตารแยกร่างออกมาเป็น 3 องค์ เรียกว่า "ตรีมูรติ" คือ.

มีมางสาและศาสนาฮินดู · ศาสนาฮินดูและไวเศษิกะ · ดูเพิ่มเติม »

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มีมางสาและไวเศษิกะ

มีมางสา มี 4 ความสัมพันธ์ขณะที่ ไวเศษิกะ มี 4 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 25.00% = 2 / (4 + 4)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มีมางสาและไวเศษิกะ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่:

Hey! เราอยู่ใน Facebook ตอนนี้! »