ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มี 2 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): จักรวาลวิทยาทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
จักรวาลวิทยา
ักรวาลวิทยา (cosmology) เป็นการศึกษาเอกภพโดยรวม ซึ่งนับว่าเป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นพื้นฐานที่สุดในเวลาเดียวกัน จักรวาลวิทยามุ่งเน้นที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งทั้งหลายในเอกภพ พร้อมกับพยายามที่จะอธิบายความเป็นมาของเอกภพในอดีต และทำนายความเป็นไปของเอกภพในอนาคต เอกภพเป็นอย่างไร เอกภพมีขอบเขตจำกัดหรือไม่ เอกภพเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใดเอกภพจึงมีรูปร่างลักษณะอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตข้างหน้าเอกภพจะเป็นอย่างไร ปัญหาเหล่านี้คือสิ่งที่นักจักรวาลวิทยาทั้งหลายสนใจ จักรวาลวิทยาในความหมายที่กว้างที่สุด จะหมายถึงการทำความเข้าใจเอกภพโดยอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา ไม่ว่าจะเป็น วิทยาศาสตร์ ปรัชญา ศาสนา หรือศิลปะ แต่โดยทั่วไปในปัจจุบัน จักรวาลวิทยาจะหมายถึงการศึกษาเอกภพโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นสองเครื่องมือสำคัญในการใช้ศึกษาเอกภพ เป็นที่ยอมรับกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่า ยิ่งเรามีความรู้ทางด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์มากขึ้นเท่าใด เราก็จะยิ่งมีความเข้าใจในเอกภพมากขึ้นเท่านั้น มโนทัศน์เกี่ยวกับเอกภพของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าเอกภพประกอบด้วยโลก คือ เทพเจ้าชื่อเก็บ ซึ่งถูกโอบล้อมด้วยท้องฟ้าคือ นัท ต่อมาเมื่อชาวกรีกโบราณศึกษาท้องฟ้าและการโคจรของดวงดาวมากขึ้น เขาก็สามารถสร้างแบบจำลองเอกภพที่สอดคล้องกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษานั้น โดยให้โลกเป็นจุดศูนย์กลางของเอกภพ และมีดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ รวมทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ทั้งหลาย โคจรอยู่รายล้อม แบบจำลองโลกเป็นศูนย์กลางนี้เป็นที่ยอมรับกันมานับพันปี ก่อนที่โคเปอร์นิคัสจะเสนอแบบจำลองใหม่ที่ให้ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง ด้วยเหตุผลว่าแบบจำลองนี้ใช้การคำนวณที่ซับซ้อนน้อยกว่า (หลักการของออคแคม) จะเห็นว่าความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นนั้นทำให้มนุษย์มองโลกและเอกภพต่างออกไป การศึกษาเอกภพก้าวหน้าขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เพราะในศตวรรษนี้มีทฤษฎีใหม่ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของเอกภพมากขึ้น เช่น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป และควอนตัมฟิสิกส์ รวมทั้งมีการค้นพบหลายสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างมากต่อวงการจักรวาลวิทยา เช่น การค้นพบว่าเอกภพกำลังขยายตัว หรือการค้นพบการแผ่รังสีคอสมิกไมโครเวฟเบื้องหลัง เป็นต้น ทั้งทฤษฎีและการค้นพบใหม่ ๆ เหล่านี้ทำให้ภาพของเอกภพในใจมนุษย์นั้นกระจ่างแจ่มชัดและใกล้เคียงความจริงยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามก็ต้องยอมรับว่าสิ่งที่มนุษย์รู้เกี่ยวกับเอกภพนั้นยังน้อยมาก และยังคงมีอีกหลายปัญหาในทางจักรวาลวิทยาที่ยังคงเป็นปริศนาอยู่ในปัจจุบัน.
จักรวาลวิทยาและมาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์ · จักรวาลวิทยาและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ·
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
การทดสอบสัมพัทธภาพทั่วไปความเที่ยงสูงโดยยานอวกาศแคสซินี สัญญาณวิทยุที่ส่งระหว่างโลกและยาน (คลื่นสีเขียว) ถูกหน่วงโดยการบิดของปริภูมิ-เวลา (เส้นสีน้ำเงิน) เนื่องจากมวลของดวงอาทิตย์ สัมพัทธภาพทั่วไปหรือทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (general relativity หรือ general theory of relativity) เป็นทฤษฎีความโน้มถ่วงแบบเรขาคณิตซึ่งอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์จัดพิมพ์ใน..
ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและมาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์ · ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปและอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
การเปรียบเทียบระหว่าง มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์ มี 6 ความสัมพันธ์ขณะที่ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ มี 77 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 2, ดัชนี Jaccard คือ 2.41% = 2 / (6 + 77)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มาตรวัดฟรีดแมน-เลอแมตร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์และอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: