ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา
มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา มี 11 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย): ชอคทอว์ชิคาซอว์กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนรัฐจอร์เจียรัฐแอละแบมารัฐโอคลาโฮมาสหรัฐห้าเผ่าอารยะแม่น้ำมิสซิสซิปปีเขตสงวนอินเดียน
ชอคทอว์
อคทอว์ (Choctaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้สหรัฐอเมริกาในรัฐโอคลาโฮมา, แคลิฟอร์เนีย, มิสซิสซิปปี, ลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบมา ชอคทอว์จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) คำว่า “Choctaw” (หรือสะกด: “Chahta” “Chactas” “Chato” “Tchakta” and “Chocktaw”) แผลงมาจากคำในภาษาคาสตีลว่า “Chato” ที่แปลว่า “ราบ” แต่นักโบราณคดีจอห์น สวอนทันให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากชื่อผู้นำของชอคทอว์เอง ส่วนนักประวัติศาสตร์เฮนรี ฮาลเบิร์ตให้ความเห็นว่าเป็นคำที่มาจากวลีชอคทอว์ “Hacha hatak” (ชนแห่งลุ่มน้ำ) ชอคทอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปี ที่มีถิ่นฐานอยู่ในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ที่นักสำรวจชาวสเปนได้มีโอกาสได้พบในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) เพราะชอคทอว์ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาตั้งถิ่นฐานอาณานิคมชาวอเมริกันยุโรป ชาติชอคทอว์แห่งโอคลาโฮมา และ กลุ่มชอคทอว์แห่งมิสซิสซิปปี (Mississippi Band of Choctaw Indians) เป็นกลุ่มองค์กรหลักสองกลุ่มของชอคทอว์ แต่ก็ยังมีกลุ่มอย่อยอื่นที่กระจัดกระจายอยู่ในลุยเซียนา, เทกซัส และ แอละแบม.
ชอคทอว์และมัสคีกี (ครีค) · ชอคทอว์และเส้นทางธารน้ำตา ·
ชิคาซอว์
ซอว์ (Chickasaw) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาที่เดิมตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ชิคาซอว์พูดภาษาชิคาซอว์ที่จัดอยู่ในกลุ่มภาษามัสคีกิน (Muskogean languages) ชิคาซอว์เป็นส่วนหนึ่งของอารยธรรมมิสซิสซิปปีที่มีถิ่นฐานอยู่ทั่วไปในบริเวณลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ก่อนที่จะได้พบกับชาวยุโรปเป็นครั้งแรกชิคาซอว์ย้ายไปทางตะวันออกไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทางตะวันออกของลุ่มแม่น้ำแม่น้ำมิสซิสซิปปี ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ชอคทอว์ก็ได้ชื่อว่าเป็นหนึ่งใน “ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า” (Five Civilized Tribes) ผู้ถูกบังคับให้ขายดินแดนบ้านเกิดของตนเองแก่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาในปี..
ชิคาซอว์และมัสคีกี (ครีค) · ชิคาซอว์และเส้นทางธารน้ำตา ·
กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐ
กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐอเมริกา (Native Americans in the United States) เป็นวลีที่หมายถึงชนพื้นเมืองในทวีปอเมริกาจากทวีปอเมริกาเหนือที่รวมแผ่นดินใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและบางส่วนของอะแลสกาและฮาวาย ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันหลายกลุ่มที่เป็นชนเผ่าอินเดียน (Indian tribe) แต่เป็นคำที่ถือว่าไม่สุภาพต่อคนหลายคนที่รวมทั้งรัสเซลล์ มีนส์นักปฏิกิริยาของขบวนการอเมริกันอินเดียน (American Indian Movement) ตามความเห็นของมีนส์ “ในการสัมนานานาชาติของอินเดียนจากทวีปอเมริกาที่กรุงเจนีวาในสวิตเซอร์แลนด์ที่สหประชาชาติ ใน..
กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐและมัสคีกี (ครีค) · กลุ่มชนพื้นเมืองอเมริกันในสหรัฐและเส้นทางธารน้ำตา ·
รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน
ำปราศัยต่อรัฐสภาสหรัฐอเมริกาประจำปี” ของปี ค.ศ. 1829) รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน หรือ รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายอินเดียน..
มัสคีกี (ครีค)และรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียน · รัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนและเส้นทางธารน้ำตา ·
รัฐจอร์เจีย
รัฐจอร์เจีย (Georgia) เป็นรัฐตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา มีรหัสไปรษณีย์ว่า GA.
มัสคีกี (ครีค)และรัฐจอร์เจีย · รัฐจอร์เจียและเส้นทางธารน้ำตา ·
รัฐแอละแบมา
รัฐแอละแบมา (Alabama) เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกามีพื้นที่ทั้งหมด 135,775 ตารางกิโลเมตร และมีประชากร 4,447,100 คน ทางทิศเหนือของรัฐจรดรัฐเทเนสซี ทิศตะวันออกจรดรัฐจอร์เจีย ทิศใต้จรดรัฐฟลอริดาและอ่าวเม็กซิโก และทิศตะวันตกจรดรัฐมิสซิสซิปปี รัฐแอละแบมาเป็นรัฐที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 30 และเป็นรัฐที่มีประชากรมากที่สุดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 24.
มัสคีกี (ครีค)และรัฐแอละแบมา · รัฐแอละแบมาและเส้นทางธารน้ำตา ·
รัฐโอคลาโฮมา
รัฐโอคลาโฮมา (Oklahoma, โอวเคฺลอะโฮ้วเม่อะ) เป็นรัฐหนึ่งใน 50 รัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา มีประชากรประมาณ 3.64 ล้านคนในปี..
มัสคีกี (ครีค)และรัฐโอคลาโฮมา · รัฐโอคลาโฮมาและเส้นทางธารน้ำตา ·
สหรัฐ
หรัฐอเมริกา (United States of America) โดยทั่วไปเรียก สหรัฐ (United States) หรือ อเมริกา (America) เป็นสหพันธ์สาธารณรัฐ ประกอบด้วยรัฐ 50 รัฐ และหนึ่งเขตปกครองกลาง ห้าดินแดนปกครองตนเองสำคัญ และเกาะเล็กต่าง ๆ โดย 48 รัฐและเขตปกครองกลางตั้งอยู่ ณ ทวีปอเมริกาเหนือระหว่างประเทศแคนาดาและเม็กซิโก รัฐอะแลสกาอยู่มุมตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ มีเขตแดนติดต่อกับประเทศแคนาดาทางทิศตะวันออกและข้ามช่องแคบเบริงจากประเทศรัสเซียทางทิศตะวันตก และรัฐฮาวายเป็นกลุ่มเกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกกลาง ดินแดนของสหรัฐกระจายอยู่ตามมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน ครอบคลุมเขตเวลาเก้าเขต ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศและสัตว์ป่าของประเทศหลากหลายอย่างยิ่ง สหรัฐมีพื้นที่ขนาด 9.8 ล้านตารางกิโลเมตร มีประชากรราว 326 ล้านคน ทำให้มีพื้นที่ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับที่ 3 ของโลก เป็นประเทศซึ่งมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม และเป็นที่พำนักของประชากรเข้าเมืองใหญ่สุดในโลกAdams, J.Q., and Pearlie Strother-Adams (2001).
มัสคีกี (ครีค)และสหรัฐ · สหรัฐและเส้นทางธารน้ำตา ·
ห้าเผ่าอารยะ
ตัวแทนของชาวอเมริกันอินเดียนห้าเผ่าที่เขียนระหว่างปี ค.ศ. 1775 ถึงปี ค.ศ. 1850 ชนเผ่าผู้มีวัฒนธรรมทั้งห้า (Five Civilized Tribes) หมายถึงกลุ่มชนพื้นเมืองในสหรัฐอเมริกาห้ากลุ่มที่รวมทั้ง: เชอโรคี, ชิคาซอว์, ชอคทอว์, มัสคีกี (ครีค) และ เซมินโอเล (Seminole) ที่ผู้ที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานที่เป็นชาวผิวขาวในสหรัฐอเมริกาในสมัยนั้นถือว่าเป็นเผ่าที่มีวัฒนธรรมเพราะกลุ่มชนเหล่านี้ยอมรับและผสานวัฒนธรรมและความก้าวหน้าของผู้เข้ามาสร้างอาณานิคม และมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนบ้าน กระบวนการในการพยายามเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นนโยบายที่เสนอโดยจอร์จ วอชิงตัน และ เฮนรี น็อกซ์ผู้มีความเห็นว่าระบบด้านการสังคมของกลุ่มชนพื้นเมืองเป็นระบบที่ต่ำกว่าของชาวยุโรปผิวขาว เชอโรคีและชอคทอว์ถือว่าเป็นกลุ่มที่ได้รับความสำเร็จที่สุดในการรับวัฒนธรรมยุโรป-อเมริกัน กลุ่มชนพื้นเมืองทั้งห้าตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐก่อนที่จะถูกโยกย้ายไปส่วนต่างๆ ของประเทศโดยเฉพาะในบริเวณที่ต่อมาเป็นรัฐโอคลาโฮมา กลุ่มชนทั้งห้าเผ่านี้ถูกโยกย้ายจากที่ตั้งถิ่นฐานทางตะวันออกของแม่น้ำมิสซิสซิปปีระหว่างช่วงการอพยพเป็นเวลาหลายสิบปีที่ได้รับการอนุมัติตามรัฐบัญญัติว่าด้วยการโยกย้ายถิ่นฐานของชาวอเมริกันอินเดียนไปยังเขตสงวนอินเดียนที่ปัจจุบันคือทางตะวันออกของรัฐโอคลาโฮมา การโยกย้ายที่มีชื่อเสียงที่สุดคือการโยกย้ายบนเส้นทางธารน้ำตาของเชอโรคี (Cherokee removal) ในปี..
มัสคีกี (ครีค)และห้าเผ่าอารยะ · ห้าเผ่าอารยะและเส้นทางธารน้ำตา ·
แม่น้ำมิสซิสซิปปี
แม่น้ำมิสซิสซิปปี ภาพถ่ายจากสวนสาธารณะในรัฐมินนิโซตา แม่น้ำมิสซิสซิปปี (Mississippi River) อยู่ตอนกลางของสหรัฐอเมริกา เป็นเครือข่ายสาขาแม่น้ำที่ใหญ่ที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือ(เครือข่ายแม่น้ำมิสซิสซิปปี-มิสซูรี) มีความยาวทั้งสิ้น 3,334 กม.
มัสคีกี (ครีค)และแม่น้ำมิสซิสซิปปี · เส้นทางธารน้ำตาและแม่น้ำมิสซิสซิปปี ·
เขตสงวนอินเดียน
ตสงวนอินเดียนในสหรัฐอเมริกา เขตสงวนอินเดียน (Indian reservation) เป็นเขตที่รัฐบาลสหรัฐกำหนดให้ชาวอเมริกันอินเดียนใช้เป็นที่ตั้งถิ่นฐานตามการประกาศของรัฐบาล ให้ชาวอินเดียนแดงทุกคนย้ายเมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2419 (ค.ศ. 1876) ซึ่งมีการวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการกระทำที่โหดร้าย ทารุณต่อมนุษย์ ในสหรัฐอเมริกามีประมาณ 300 เขตสงวนซึ่งบางเผ่าอาจจะมีอยู่ภายในหลายเขตสงวน โดยมี 9 เขตสงวนที่ใหญ่กว่า 5,000 กม² และ 12 เขตสงวนที่มีขนาดใหญ่กว่า 3,000 กม² โดยในแต่ละเขตสงวนจะมีดินแดนที่ต่างกัน รวมถึงภูมิประเทศและภูมิอากาศ พื้นดินในบางดินแดนไม่สามารถทำเกษตรกรรมได้ ในปี พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) กฎหมายที่ให้ชาวอเมริกันอินเดียนเปิดคาสิโนอย่างถูกกฎหมายผ่านสภา ซึ่งรัฐบาลสหรัฐอเมริกาหวังว่าชาวอเมริกันอินเดียนสามารถมีรายได้เพียงพอสำหรับคนในเผ่า ภายใต้ชื่อว่า "1988 Indian Gaming Regulatory Act".
มัสคีกี (ครีค)และเขตสงวนอินเดียน · เขตสงวนอินเดียนและเส้นทางธารน้ำตา ·
รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้
- สิ่งที่ มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา มีเหมือนกัน
- อะไรคือความคล้ายคลึงกันระหว่าง มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา
การเปรียบเทียบระหว่าง มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา
มัสคีกี (ครีค) มี 16 ความสัมพันธ์ขณะที่ เส้นทางธารน้ำตา มี 40 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 11, ดัชนี Jaccard คือ 19.64% = 11 / (16 + 40)
การอ้างอิง
บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มัสคีกี (ครีค)และเส้นทางธารน้ำตา หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: