เรากำลังดำเนินการเพื่อคืนค่าแอป Unionpedia บน Google Play Store
🌟เราได้ทำให้การออกแบบของเราง่ายขึ้นเพื่อการนำทางที่ดีขึ้น!
Instagram Facebook X LinkedIn

มัลแวร์และอินเทล อะตอม

ทางลัด: ความแตกต่างความคล้ายคลึงกันค่าสัมประสิทธิ์การเปรียบเทียบ Jaccardการอ้างอิง

ความแตกต่างระหว่าง มัลแวร์และอินเทล อะตอม

มัลแวร์ vs. อินเทล อะตอม

มัลแวร์ (Malware) ย่อมาจากคำว่า Malicious Software ซึ่งหมายถึงโปรแกรมประสงค์ร้ายต่างๆ โดยทำงานในลักษณะที่เป็นการโจมตีระบบ การทำให้ระบบเสียหาย รวมไปถึงการโจรกรรมข้อมูล มัลแวร์ แบ่งออกได้หลากหลายประเภท อาทิเช่น ไวรัส (Virus) เวิร์ม (Worm) หรือหนอนอินเทอร์เน็ต ม้าจันเจา (Trojan Horse) การแอบดักจับข้อมูล (Spyware) คีย์ ล๊อกเกอร์ (Key Logger) บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งาน ตลอดจนโปรแกรมประเภทขโมยข้อมูล (Cookie) และการฝัง Malicious Mobile Code (MMC) ผ่านทางช่องโหว่ของโปรแกรม Internet Browser โดยโปรแกรมจะทำการควบคุมการทำงานโปรแกรม Internet Browser ให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ที่ไม่หวังดี เช่น การแสดงโฆษณาในลักษณะของการ Pop-Up หน้าต่างโฆษณาออกมาเป็นระยะ เราเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า แอ็ดแวร์ (Adware) ซึ่งภัยเหล่านี้ในปัจจุบันได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งอาจจะเกิดผลกระทบแก่ผู้ใช้งานได้ ถ้ารับโปรแกรมเหล่านี้เข้ามาในเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรจันฮอร์ส (trojan horse) คือ โปรแกรมที่ดูเหมือนจะมีประโยชน์หรือไม่เป็นอันตราย แต่ในตัวโปรแกรมจะแฝงโค้ดสำหรับการใช้ประโยชน์หรือทำลายระบบที่รันโดยโปรแกรมนี้ส่วนใหญ่จะถูกแนบมากับ E-mail และเมื่อดูเผินๆ ก็เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ทั่วๆไป แต่จริงๆ แล้วข้างในจะแฝงส่วนที่เป็นอันตรายต่อระบบเมื่อรันโปรแกรมนี้ เวิร์ม (worm) คุณสมบัติพิเศษของเวิร์ม คือ สามารถแพร่กระจายตัวของมันเองได้โดยอัตโนมัติและไม่ต้องอาศัยโปรแกรมอื่นในการแพร่กระจายไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆ ผ่านทางเครือข่าย เวิร์ม สามารถทำอันตรายให้กับระบบ เวิร์มบางประเภทสามารถแพร่กระจายตัวเองโดยที่ไม่ต้องอาศัยการช่วยเหลือจากผู้ใช้เลย หรือบางตัวก็อาจแพร่กระจายเมื่อผู้ใช้รันโปรแกรมบางโปรแกรม นอกจากความสามารถในการแพร่กระจายด้วยตัวเองแล้ว เวิร์มยังสามารถทำลายระบบได้อีกด้วย ไวรัส (virus) ไวรัสเป็นโปรแกรมที่สามารถติดต่อจากอีกไฟล์หนึ่งไปยังอีกไฟล์หนึ่งภายในระบบเดียวกัน หรือจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังเครื่องอื่นโดยการแนบตัวเองไปกับโปรแกรมอื่น มันสามารถทำลายฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และข้อมูล เมื่อโฮสต์รันโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนที่เป็นไวรัสก็จะถูกรันด้วยและทำให้แพร่กระจายไปยังเครื่องอื่นหรือบางทีก็สร้างโค้ดใหม. อินเทล อะตอม เปรียบเทียบกับเหรียญ 1 เซนต์ อินเทล อะตอม (Intel Atom) เป็นชื่อผลิตภัณฑ์ซีพียู x86 และ x86-64 ของอินเทลสำหรับรุ่นที่ใช้พลังงานต่ำมาก ออกแบบบนพื้นฐาน CMOS 45 นาโนเมตร สำหรับใช้งาน เน็ตบุ๊ก เน็ตท็อป และ เอ็มไอดี โดยสัญญาณนาฬิกาของอะตอมจะอยู่ในช่วง 800 MHz ถึง 2.13 GHz 21 ธันวาคม 2552 อินเทลได้ประกาศเปิดตัวโพรเซสเซอร์อะตอมรุ่นถัดมาคือ N450 ซึ่งสามารถลดการใช้พลังงานลง 20% from Intel website อินเทลอะตอมเป็นรุ่นที่ถูกพัฒนาต่อจาก อินเทล A100 และ A110 (รหัสชื่อว่า สตีลลีย์) โดยเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2550 อินเทลได้ประกาศเปิดตัวโพรเซสเซอร์ตัวใหม่ภายใต้ชื่อรหัสว่า ไดอามอนด์วิลล์ สำหรับคอมพิวเตอร์ในลักษณะใกล้เคียงกับของที่ใช้ในโครงการโอแอลพีซี.

ความคล้ายคลึงกันระหว่าง มัลแวร์และอินเทล อะตอม

มัลแวร์และอินเทล อะตอม มี 0 สิ่งที่เหมือนกัน (ใน ยูเนี่ยนพีเดีย)

รายการด้านบนตอบคำถามต่อไปนี้

การเปรียบเทียบระหว่าง มัลแวร์และอินเทล อะตอม

มัลแวร์ มี 3 ความสัมพันธ์ขณะที่ อินเทล อะตอม มี 6 ขณะที่พวกเขามีเหมือนกัน 0, ดัชนี Jaccard คือ 0.00% = 0 / (3 + 6)

การอ้างอิง

บทความนี้แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง มัลแวร์และอินเทล อะตอม หากต้องการเข้าถึงบทความแต่ละบทความที่ได้รับการรวบรวมข้อมูลโปรดไปที่: